|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
44,0027,001,ของอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมให้ของอร่อยแก่ชนเหล่าอื่น ผู้นั้นชื่อว่า
|
|
44,0027,002,เป็นนาย เป็นหัวหน้า เป็นเจ้า (แห่งทาน) ให้. พระผู้มีพระภาคตรัส
|
|
44,0027,003,"คำว่า <B>'ทานปติ'</B> ทรงหมายเอาผู้เช่นนั้น, บทว่า <B>อมงฺกุภูโต</B>"
|
|
44,0027,004,คือมิใช่เป็นผู้ปราศจากเดช. บทว่า <B>วิสารโท</B> คือเป็นผู้ถึงซึ่งโสมนัส
|
|
44,0027,005,อันสัมปยุตด้วยญาณ. สองบทว่า <B>สหพฺยตํ คตา</B> ความว่า ถึง
|
|
44,0027,006,ความเป็นผู้ร่วมกัน คือความเป็นพวกเดียวกัน. บทว่า <B>กตาวกาสา</B>
|
|
44,0027,007,ความว่า ชื่อว่าผู้มีโอกาสอันทำแล้ว เพระเป็นผู้ทำกรรมเป็นเหตุมี
|
|
44,0027,008,โอกาสในนันทวันนั้น. และเพราะกรรมนั้นเป็นกุศลอย่างเดียว ฉะนั้น
|
|
44,0027,009,พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า 'ผู้มีกุศลอันทำแล้ว.' บทว่า <B>โมทเร</B>
|
|
44,0027,010,แปลว่า ย่อมบันเทิง คือ เบิกบาน. บทว่า <B>อสิตสฺส</B> ความว่า ของ
|
|
44,0027,011,ตถาคต ผู้อันตัณหาไม่อาศัยแล้ว. บทว่า <B>ตาทิโน</B> ได้แก่ผู้ถึงลักษณะ
|
|
44,0027,012,"แห่งผู้คงที่."""
|
|
44,0027,013,"[๒๖] ฎีกาสีหสูตรนั้นว่า ""บทว่า <B>สนฺทิฏิกํ</B> ความว่า ชื่อว่า"
|
|
44,0027,014,อันบุคคลพึงเห็น เพราะเป็นผลอันไม่เป็นไปในสัมปรายภพ คือ อัน
|
|
44,0027,015,บุคคลพึงเสวยเอง เป็นของประจักษ์เฉพาะตัว คือเป็นไปในทิฏฐ-
|
|
44,0027,016,ธรรม. หลายบทว่า <B>สาหุ ทานนฺติ สทฺธามตฺตเกเนว ติฏฺติ</B>
|
|
44,0027,017,ความว่า ทายกย่อม (ไม่) หยุดอยู่ด้วยเหตุเพียงความชื่ออย่างนี้ว่า
|
|
44,0027,018,ขึ้นชื่อว่าทาน ยังประโยชน์ให้สำเร็จ เป็นของดี อันบัณฑิตทั้งหลาย
|
|
44,0027,019,มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นสรรเสริญ.' หลายบทว่า <B>ยํ ทานํ เทติ</B> ความว่า
|
|
44,0027,020,บุคคลให้ไทยธรรมใดแก่ผู้อื่น. หลายบทว่า <B>ตสฺส อธิปติ หุตฺวา เทติ</B>
|
|
44,0027,021,ความว่า ทายกครอบงำความโลภเสียด้วยดี ชื่อว่าเป็นเจ้าแห่งทาน
|
|
|