|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
10,0017,001,ล่วงไปแล้วตั้งแต่วานนี้ คือ ได้เป็นไปหรือทำสำเร็จแล้วนับตั้งแต่วาน
|
|
10,0017,002,"นี้ไป <B>กาล</B> นี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่า <B>""แล้ว""</B> แต่ถ้ามี อ อาคมอยู่"
|
|
10,0017,003,"หน้า เพิ่มคำว่า <B>""ได้""</B> เข้ามาด้วย แปลว่า <B>""ได้-แล้ว""</B> เช่น อุ."
|
|
10,0017,004,ว่า ตมฺปิ อิตฺถึ นาทฺทส (พระราชา) มิได้ทรงทอดพระเนตรเห็น
|
|
10,0017,005,แล้ว ซึ่งหญิงแม้นั้น.
|
|
10,0017,006,<B>๖. อดีตกาลตั้งแต่วันนี้ </B> หมายถึงเรื่องราวหรือการกระทำนั้น ๆ
|
|
10,0017,007,ล่วงไปแล้วตั้งแต่วันนี้ คือ ได้เป็นไปหรือทำเสร็จแล้วนับตั้งแต่วันนี้
|
|
10,0017,008,"ไป <B>กาล</B> นี้ท่านบัญญัติให้แปลว่า <B>""แล้ว""</B> แต่ถ้ามี อ อาคมอยู่หน้า"
|
|
10,0017,009,"เพิ่มคำว่า <B>""ได้""</B> เข้ามาด้วย แปลว่า <B>""ได้-แล้ว""</B> เช่น อุ.ว่า"
|
|
10,0017,010,สตฺถา อนุปุพฺพีกถํ กเถสิ พระศาสดาตรัสแล้วซึ่งอนุบุพพีกถา
|
|
10,0017,011,เอวมสฺส อนุปุพฺเพน ธนํ ปริกฺขยํ อคมาสิ ทรัพย์ของเศรษฐีนั้นได้
|
|
10,0017,012,ถึงแล้วซึ่งความสิ้นไปโดยลำดับโดยอาการอย่างนี้.
|
|
10,0017,013,<B>๗. อนาคตแห่งปัจจุบัน</B> หมายถึงเรื่องราวและการกระทำ
|
|
10,0017,014,นั้น ๆ ยังอยู่ข้างหน้า แต่ก็จักมาถึง กลายเป็นปัจจุบันไม่คราวใดก็
|
|
10,0017,015,คราวหนึ่ง กาลนี้มีระยะเวลาไกลเนิ่นนานกว่าปัจจุบันใกล้อนาคต คือ
|
|
10,0017,016,ยังไม่วจนะจะถึง ส่วนปัจจุบันใกล้อนาคตนั้น ใกล้ต่อความเป็นปัจจุบัน
|
|
10,0017,017,"มากกว่า <B>กาล</B> นี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่า ""จัก"" เช่น อุ. ว่า สเจ"
|
|
10,0017,018,"อิทานิ อาคจฺฉิสฺสสิ, ชานิสฺสามิ เต กตฺตพฺพํ ที่นี้ถ้าเจ้าจักมาอีก, เราจัก"
|
|
10,0017,019,รู้ซึ่งกรรมที่เราพึงทำแก่เจ้า. นี้แสดงให้เห็นว่า เป็นแต่พูดคาดหน้าไว้
|
|
10,0017,020,ยังห่างไกลต่อกาลที่จักทำ.
|
|
10,0017,021,<B>๘. อนาคตแห่งอดีต</B> หมายถึงเรื่องราวหรือการกระทำนั้น ๆ
|
|
|