|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0012,001,หลังเป็นประธาน เวลาเข้าสมาสแล้ว อิติศัพท์ท่านลบเสีย ยังคงเหลือ
|
|
09,0012,002,แต่ ๒ บท ซึ่งอาจเข้าใจไปในความเป็นสมาสอื่น เช่นตัปปุริสะหรือ
|
|
09,0012,003,ทวันทวะได้ แต่มีข้อควรสังเกตอยู่บางอย่าง เช่นสมาสนี้ บทหลัง
|
|
09,0012,004,อันเป็นประธานนั้น ท่านมักใช้ศัพท์ซึ่งในทางสัมพันธ์จะได้สรูปอิติ
|
|
09,0012,005,เข้าได้ เช่นศัพท์ว่า สมฺมตํ วจนํ มาโน สญฺา เป็นต้น อันจะเชื่อม
|
|
09,0012,006,อิติศัพท์เข้าได้สนิท ดังภาษาไทยว่า สมมติว่า ... คำว่า ... ความ
|
|
09,0012,007,สำคัญว่า... ความรู้ว่า... เป็นต้น เมื่อเห็นบทหลังในสมาสเช่นนั้นแล้ว
|
|
09,0012,008,"พึงพิจารณาบทหน้าจะเข้ากับคำว่า ""ว่า"" คือ อิตินั้นได้หรือไม่ ถ้าเห็น"
|
|
09,0012,009,ว่าเข้ากันได้แล้ว พึงเข้าใจเถิดว่าสมาสเช่นนี้เป็นสัมภาวนบุพพบท
|
|
09,0012,010,ดังตัวอย่างที่ท่านแสดงไว้ว่า ขตฺติฑย (อหํ) อิติ มาโน=ขตฺติยมาโน
|
|
09,0012,011,มานะว่า (เราเป็น) กษัตริย์ แต่บางครั้งอาจแปลเปลี่ยนรูปไปเป็น
|
|
09,0012,012,ตัปปุริสะได้ การที่จะแปลอย่างไร โดยวิธีของสมาสไหน จะเหมาะ
|
|
09,0012,013,นั้น และแต่ผู้ศึกษาจะคิดแปลให้เข้ารูปกับประโยคนั้น ๆ เถิด เมื่อได้
|
|
09,0012,014,ความชัดแล้วเป็นอันไม่ผัดหลักสมาสเลย.
|
|
09,0012,015,๖. อวธารณบุพพบท
|
|
09,0012,016,อวธารณบุพพบทนี้ ย่อนามบทเข้าด้วยกัน ในเมื่อนาม
|
|
09,0012,017,นั้นเป็นชื่อเรียกแทนกันได้ หรือว่ามีคุณค่าเท่ากัน ท่านประกอบ เอว
|
|
09,0012,018,ศัพท์กับบทหน้า เพื่อห้ามเนื้อความอื่นเสียว่า ไม่ใช่สิ่งอื่น ท่านให้
|
|
09,0012,019,แปล เอวศัพท์ว่า คือ เช่นแสงสว่างคือปัญญา ไม่ได้หมายเอาแสงสว่าง
|
|
09,0012,020,ือื่น หมายเอาแสงสว่างคือปัญญา ต้องตั้งวิเคราะห์ว่า ปญฺา เอว
|
|
|