Book,Page,LineNumber,Text
20,0032,001,เป็นธรรมดา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป เตสํ
20,0032,002,วูปสโม สุโข ความสงบแห่งสังขารทั้งหลายเหล่านั้นย่อมเป็นสุข และ
20,0032,003,เรื่องนี้สาธกให้เห็นว่า ผู้ไม่คิดถึงอนิจจธรรมย่อมประมาทมัวเมาเช่นไร.
20,0032,004,อนึ่ง สังขารทั้งหลายเป็นภาระที่จะต้องบริหารประคับประคอง
20,0032,005,เป็นนิตย์ ข้อนี้พึงเห็นในอุปาทินนกสังขารที่นับว่ามนุษย์ก่อน ร่างกาย
20,0032,006,นี้ มี เย็น ร้อน หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ เบียด
20,0032,007,เบียนอยู่เสมอ เย็นหรือหนาวก็ต้องห่มผ้า ร้อนก็ต้องอาบน้ำหรือพัดวี
20,0032,008,หิวก็ต้องบริโภคอาหาร ระหายก็ต้องดื่มน้ำ ปวดอุจจาจะ ปัสสาวะ
20,0032,009,ก็ต้องถ่าย และยังต้องบริหารด้วยคอยผลัดเปลี่ยนอิริยาบถเดิน ยืน นั่ง
20,0032,010,นอน ให้พอควร นี้เป็นทุกข์ที่มีประจำ นอกจากนี้ยังมีอาพาธต่าง ๆ
20,0032,011,เกิดขึ้นเบียดเบียนในระหว่าง ๆ ที่ต้องการความแก้ไขเยียวยา ข้อนี้
20,0032,012,พุทธาทิบัณฑิตพิจารณาเห็นอาทีนพ [โทษ] ในร่างกาย ดังแสดงใน
20,0032,013,คิริมานันทสูตร โดยเป็นพุทธภาษิตตรัสแก่พระอานนท์ เพื่อจำไป
20,0032,014,แสดงแก่พระคิริมานนท์ว่า กตมา จานนฺท อาทีนวสญฺา ดูก่อน
20,0032,015,อานนท์ อนึ่ง อาทีนวสัญญา ความกำหนดหมายว่ามีโทษเป็น
20,0032,016,ไฉน ? อิธานนฺท ภิกฺขุ อรญฺคโต วา รุกฺขมูลคโต วา
20,0032,017,สฺุาคารคโต วา ดูก่อนอานนท์ ภิกษุในศาสนานี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไป
20,0032,018,สู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างเปล่าก็ดี อิติ ปฏิสญฺจิกฺขติ ย่อมพิจารณา
20,0032,019,เห็นดังนี้ว่า พหุทุกฺโข โข อยํ กาโย พหุอาทีนโว กายนี้มีทุกข์
20,0032,020,มากนัก มีอาทีนพมาก อิติ อิมสฺมึ กาเย วิวิธา อาพาธา อุปฺปชฺชนฺติ
20,0032,021,อาพาธต่าง ๆ ย่อมเกิดขึ้นในกายนี้ ดังจะกล่าวต่อไปนี้ เสยฺยถีทํ