|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0008,001,ถ. ความรู้แค่ไหนควรเรียกว่า ปัญญาชั้นสมถะ เพียงแค่ไหน
|
|
41,0008,002,ควรเรียกว่า ปัญญาชั้นวิปัสสนา มีอะไรเป็นเครื่องวัดให้รู้ได้ ?
|
|
41,0008,003,ต. ความรู้ในอันหาอุบายทำใจให้สงบลงเป็นสมาธิ เพียงแค่นี้
|
|
41,0008,004,เรียกว่า ปัญญาชั้นสมถะ มีนิมิต ๓ และอารมณ์ของสมถกัมมัฏฐาน
|
|
41,0008,005,๔๐ เป็นเครื่องวัดให้รู้ได้. ความรู้เท่าหยั่งถึงสภาวะแห่งความเป็นจริง
|
|
41,0008,006,หรือปัญญาที่เฟ้นสังขาร เห็นอาการแห่งสภาวธรรม โดยไม่เที่ยง
|
|
41,0008,007,เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ซึ่งเรียกว่าสามัญญลักษณะ พูดสั้น ปัญญา
|
|
41,0008,008,ที่หยั่งลงสู่ไตรลักษณ์ เรียกว่าปัญญาชั้นวิปัสสนา มีสภาวธรรมและ
|
|
41,0008,009,ไตรลักษณ์เป็นเครื่องวัดให้รู้.
|
|
41,0008,010,๒๕๑๘-๒๕๒๐
|
|
41,0008,011,ถ. กัมมัฏฐานอะไรบ้าง ที่ท่านเรียกว่าตจปัญจกกัมมัฏฐาน ?
|
|
41,0008,012,ผู้เจริญตจปัญจกกัมมัฏฐาน จะจัดว่าเจริญสมถะหรือวิปัสสนา ?
|
|
41,0008,013,เพราะเหตุไร ?
|
|
41,0008,014,ต. ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง รวม ๕ อย่าง ท่านเรียกว่า
|
|
41,0008,015,ตจปัญจกกัมมัฏฐาน.<sup>๑<\sup> ผู้เจริญตนปัญจกกัมมัฏฐานนั้น จะจัดว่าเป็น
|
|
41,0008,016,การเจริญสมถะหรือวิปัสสนาต้องแล้วแต่ผู้เจริญ ถ้ายกขึ้นเจริญเป็นขั้น
|
|
41,0008,017,ภาวนา เช่นยกผมขึ้นภาวนาว่า ผม ๆ หรือเกศา ๆ ดังนี้ ก็ต้องจัด
|
|
41,0008,018,เป็นสมถะ เพราะเป็นไปเพื่อความสงบจิตอย่างเดียว. ถ้ายกขึ้น
|
|
41,0008,019,พิจารณาค้นคว้าหาเหตุผลแห่งความเกิดความดับ หรือความสิ้นความ
|
|
41,0008,020,เสื่อม หรือยกขึ้นสู่พระไตรลักษณ์ เช่นนี้จัดเป็นวิปัสสนา เพราะเป็น
|
|
|