dhamma-scholar-book / 24 /240040.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
24,0040,001,๙. อพฺยาปาท ไม่พยาบาทปองร้ายเขา.
24,0040,002,๑๐. สมฺมาทิฏฺ€ิ เห็นชอบตามคลองธรรม.
24,0040,003,การปฏิบัติธรรม ๒ บทข้างต้น จะดำรงอยู่ได้ก็อาศัยธรรมในบท
24,0040,004,ท้ายเป็นผู้อุปถัมภ์จึงจะบรรลุผล คือไม่มีศัตรูก่อให้เกิดภัยเวรในภาย
24,0040,005,หน้า เป็นหนทางนำมาซึ่งสงบสุข.
24,0040,006,กรรมทั้ง ๑๐ อย่างนี้ เป็นสามัคคีกับความไม่ประมาทในที่ ๔
24,0040,007,สถาน ดังได้นำมาลงไว้นี้ :-
24,0040,008,ควรทำความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน<SUP>๑</SUP>
24,0040,009,๑. ในการละกายทุจริต ประพฤติกายสุจริต.
24,0040,010,๒. ในการละวจีทุจริต ประพฤติวจีสุจริต.
24,0040,011,๓. ในการละมโนทุจริต ประพฤติมโนสุจริต.
24,0040,012,๔. ในการละความเห็นผิด ทำความเห็นให้ถูก.
24,0040,013,ในที่ ๔ สถานนี้ ๒ สถานข้างต้นเป็นแผนกศีล ๒ สถานข้างปลาย
24,0040,014,เป็นแผนกใจ การรักษาศีล ก็คือ รักษากายวาจาให้สะอาจหมดจด
24,0040,015,ไม่ละเมิดบทบัญญัติใด ๆ แต่การที่จะรักษาได้เช่นนั้น ก็ต้องอาศัยใจ
24,0040,016,เป็นผู้อำนวย แม้กล่าวถึงผลที่ตรงกันข้าม คือที่จะทำให้ศีลวิบัติสลาย
24,0040,017,ก็ด้วยใจเป็นต้นเหตุดุจกัน.
24,0040,018,ลำดับต่อจากนี้ไป เป็นเรื่องของอุปกิเลส ๑๖ ซึ่งผู้ไม่ประมาท
24,0040,019,ควรศึกษาไว้ สำหรับสอบกับความประพฤติที่เป็นอยู่ ณ เวลานี้ ว่า
24,0040,020,สิ่งใดยังมีอยู่บ้าง จะได้เว้นเสียให้หมดสิ้นไป ดังนี้ :-