Book,Page,LineNumber,Text 14,0021,001,ปกติ คงรูปไว้ตามเดิม จึงเห็นว่า ปกติ ก็มีประโยชน์อยู่ในสนธิทั้ง ๓. 14,0021,002,[ ๒๔๘๐ ]. 14,0021,003,[ นาม ] 14,0021,004,ถ. จงแสดงลักษณะแห่งนามทั้ง ๓ ให้เห็นว่าต่างกัน ยกตัวอย่าง 14,0021,005,มาสักประโยคหนึ่ง เป็นคำมคธหนึ่งคำไทยก็ตาม แสดงให้เห็นว่า 14,0021,006,คำนั้น ๆ เป็นนามนั้น ๆ ? 14,0021,007,"ต. นามที่เป็นชื่อของคน, สัตว์, ที่, สิ่งของ เป็นนามนาม." 14,0021,008,นามที่แสดงลักษณะของนามนาม สำหรับหมายให้รู้ว่านามนามนั้น 14,0021,009,ดีหรือชั่วเป็นต้น เป็นคุณนาม. สัพพนาม เป็นศัพท์สำหรับใช้แทน 14,0021,010,นามนามที่ออกชื่อมาแล้ว เพื่อจะไม่ให้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ. อุจฺจํ ขตฺติยสฺส 14,0021,011,"กุลํ , ตํ ชนเหิ มานิตํ. กุลํ เป็นชื่อขอสกุล เป็นนามนาม, อุจฺจํ" 14,0021,012,"แสดงลักษณะของสกุล เป็นคุณนาม, ตํ ใช้แทนสกุล เป็น" 14,0021,013,สัพพนาม. [ ๒๔๕๙]. 14,0021,014,ถ. นามศัพท์ เมื่อนำไปใช้ในข้อความทั้งปวง จะต้องทำ 14,0021,015,อย่างไร ? 14,0021,016,ต. ต้องประกอบด้วยลิงค์ วจนะ และ วิภัตติ. [ ๒๔๖๐ ]. 14,0021,017,ถ. นามศัพท์ทั้ง ๓ อย่างไหนแบ่งเป็นกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? 14,0021,018,ต. นามนาม แบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ สาธารณนาม ๑ อสาธารณ- 14,0021,019,นาม ๑. คุณนาม แบ่งเป็น ๓ อย่าง คือ ปกติ ๑ วิเสสน ๑ อติวิเสส ๑. 14,0021,020,สัพพนาม แบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ ปุริสสัพพนาม ๑ วิเสสนสัพพนาม ๑. 14,0021,021,[ อ. น. ]