Book,Page,LineNumber,Text 14,0020,001,นิคคหิตเป็น ม เป็นเสร็จในเรื่องนิคคหิตสนธิท่อนต้น ท่อนหลัง 14,0020,002,ลบ อิ เสีย สนธิเข้าเป็น เป เป็นสระสนธิ. สพฺพตฺถมปราชิตา เป็น 14,0020,003,พยัญชนะสนธิ เดิมเป็น สพฺถตฺถ=อปาราชิตา ลง ม อาคม. [๒๔๖๗ ]. 14,0020,004,ถ. ทุกฺขมเนฺติ เสนาสนฺตุฏฺ€ํ กว่าจะสำเร็จรูปอย่างนี้ได้ ต้อง 14,0020,005,ผ่านวิธีแห่งสนธิอะไรบ้าง ? จะแสดงให้สิ้นเชิง. 14,0020,006,ต. ทุกฺขมเนวฺติ ตัดบทเป็น ทุกฺขํ อเนฺวติ. ทุกฺขํ ทุ = ขม 14,0020,007,ข ซ้อน กฺ หน้า ข โดยวิธีแห่งสัญโญคสนธิ. อเนฺวติ อนุ = เอติ เอา อุ 14,0020,008,เป็น ว โดยวิธีแห่งสราเทสสนธิ. ทุกฺขํ=อเนฺวติ เอานิคคหิตเป็น ม 14,0020,009,โดยวิธีแห่งนิคคหิตาเทสสนธิ สำเร็จรูปเป็น ทุกฺขมเนฺวติ. เสนา- 14,0020,010,"สนฺตุฏฺ€ํ ตัดบทเป็น เสน = อนสฺตุฏฺ€ํ, อสนฺตุฏฺ€ํ น สํ = ตุฏฺ€ํ เอา" 14,0020,011,นิคคหิตที่ สํ เป็น น โดยวิธีแห่งนิคคหิตาเทสสนธิ เสน = อสนฺตุฏ€ํ 14,0020,012,ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง โดยวิธีแห่งสรโลปสนธิและทีฆสนธิ สำเร็จ 14,0020,013,รูปเป็น เสนาสนฺตุฏฺ€ํ. [ ๒๔๘๙ ]. 14,0020,014,ถ. ในวิธีของสนธิกิริโยปกรณ์ ๘ อย่าง เฉพาะบ้างปกติ ดู 14,0020,015,ไม่น่าจะเป็นอุปการะแก่การต่ออย่างไรเลย แต่ไฉนท่านจึงจัดเข้าประจำ 14,0020,016,ทั่วทั้ง ๓ สนธิ หรืออาจเป็นได้บ้าง ? เห็นอย่างไร จงอธิบายมา ? 14,0020,017,ต. เป็นอุปการะได้อย่าง ๑ เพราะการต่ออักขระ ซึ่งเรียกว่า 14,0020,018,สนธินั้น จะต่อเข้าเฉยๆ โดยไม่มีหลักเกณฑ์ไม่ได้ จะต่อได้เฉพาะ 14,0020,019,ตามหลักที่วางไว้ เช่น โลปะ เป็นต้น แต่เมื่อต้องการจะต่อเข้าเฉยๆ 14,0020,020,โดยไม่ต้องลงหรือทำอย่างอื่น เช่นนี้ก็ต้องต่อโดยใช้หลักที่เรียกว่า