Book,Page,LineNumber,Text 14,0013,001,คือ โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ สญฺโโค. ส่วนนิคคหิตสนธิ 14,0013,002,ใช้สนธิกิริโยปกรณ์ ๔ คือ โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ. [ ๒๔๖๘ ] 14,0013,003,ถ. สนธิมีชื่อว่าอย่างไร อย่างไหนมีอุทากรณ์อย่างไร ? 14,0013,004,"ต. มีชื่อว่า สระสนธิ พยัญชนะ สนธิ นิคคหิตสนธิ เป็น ๓," 14,0013,005,สระสนธิ มีอุทาหรณ์ว่า ยสฺส= อินฺทฺริยานิ ลบสระหน้าคือ อ ที่สุด 14,0013,006,แห่งศัพท์ ยสฺส เสีย สนธิเป็น ยสฺสินฺทฺริยานิ. พยัญชนะสนธิ มี 14,0013,007,อุทาหรณ์ว่า มหาสาโร เป็นมหาสาโล. นิคฺคหิตสนธิ มีอุทาหรณ์ 14,0013,008,"ว่า พุทฺธานํ=สาสนํ เป็น พุทฺธานสาสนํ. [ ๒๔๖๓ ]""" 14,0013,009,ถ. สระสนธิ ต่อสระนั้น คือต่อสระอะไรกับอะไร ? และมี 14,0013,010,สนธิกิริโยปกรณ์อะไรบ้าง ? 14,0013,011,ต. คือต่อสระที่สุดของศัพท์หน้าซึ่งเรียกว่าสระหน้า กับสระ 14,0013,012,หน้าของศัพท์หลังซึ่งเรียกว่าสระหลัง มีสนธิกิริโยปกรณ์ ๗ คือ 14,0013,013,โลปะ อาเทส อาคม วิการ ปกติ ทีฆะ รัสสะ. [ ๒๔๖๐ ]. 14,0013,014,ถ. สระสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์เท่าไร อะไรบ้าง ? โลปสระ 14,0013,015,เช่นไรจำเป็นต้องทีฆะสระด้วย เช่นไรไม่ต้อง ? 14,0013,016,ต. ได้สนธิกิริโยปกรณ์เป็น ๗ คือ โลโป อาเทโล อาคโม 14,0013,017,"วิกาโร ปกติ ทีโฆ รสฺสํ, ถ้าลบสระสั้นที่มีรูปเสมอกัน คือเป็น อ" 14,0013,018,หรือ อิ หรือ อุ ทั้ง ๓ ตัว ต้องทีฆะสระสั้นที่ไม่ได้ลบ เช่น ตตฺร= อยํ 14,0013,019,"เป็น ตตฺรายํ, ยานิ= อิธ เป็น ยานีธ, พหุ= อุปกาโร เป็น พหูปกาโร" 14,0013,020,หรือสระหน้าเป็นทีฆะ สระเบื้องปลายเป็นรัสสะ เมื่อลบแล้ว ต้อง 14,0013,021,"ทีฆะสระหลัง เช่น สทฺธา= อิธ เป็น สทฺธีธ, นอกจากนี้ไม่ต้อง." 14,0013,022,[๒๔๖๙].