Book,Page,LineNumber,Text 13,0019,001,เพราะเหตุนั้น จิตนั้น ชื่อ โลกุตระ (ข้ามขึ้นจากโลก) คือ 13,0019,002,"มัคคจิต."" " 13,0019,003,โยชนา [ ๑/๒๑๙ ] ว่า โลกุตฺตรนฺติ (ปทํ) สญฺา. มคฺคจิตฺตนฺติ 13,0019,004,(ปทํ) ลิงคฺตฺโถ. 13,0019,005,อุ. นี้ แสดงบทไขบทปลงแห่งรูปวิเคราะห์. บทไขบทปลงนี้ 13,0019,006,โบราณเรียกวิเสสลาภี ดังกล่าวในข้อนั้นแล้ว. 13,0019,007,สรูปอธิบาย: เป็นบทวิเสสนะที่เป็นสรูป เรียกชื่อว่า สรูปวิเสสนะ. 13,0019,008,สัญญาวิเสสนะ (คู่กับสัญญีวิเสสิยะ) 13,0019,009,(๒) เป็นบทที่เป็นต้นชื่อว่า เรียกชื่อว่า สญฺาวิเสสนํ 13,0019,010,"(ชื่อว่า), สัญญาวิเสสนะนี้ โบราณท่านเรียกคู่กับสัญญีวิเสสิยะ" 13,0019,011,คือเรียกบทที่เป็นตัวเข้าของชื่อว่า ว่าสัญญีวิเสสิยะ (สํสกฤตว่า 13,0019,012,วิเศษฺย คือตัวนามนามอันจะให้แปลกไปด้วยวิเศษณ หรือ วิเสสนะ) 13,0019,013,เรียกบทที่เป็นตัวชื่อว่า ว่าสัญญาวิเสสนะ อุ. กุมฺภโฆสโก นาม 13,0019,014,"เสฏฺ€ี กุมฺภโฆสโก สัญญาวิเสสนะ, เสฏฺฐี สัญญีวิเสสิยะ." 13,0019,015,ชื่อคู่นี้เรียกสั้นว่า สัญญี-สัญญา บัดนี้ มักเรียกแต่สัญญา- 13,0019,016,วิเสสนะอย่างเดียว. บทสัญญีวิเสสิยะ ต้องเรียกชื่อตามอรรถที่เกี่ยว 13,0019,017,เนื่องกันในประโยคด้วย เช่น สยกัตตา เป็นต้น. 13,0019,018,อธิบาย : [ ๑ ] เรื่องสัญญาวิเสสนะนี้ ได้อธิบายไว้แล้วในเล่ม ๑ 13,0019,019,"ในลักษณะที่ใช้กันอยู่ทั่วไปเบื้องต้น, ในที่นี้ จักกล่าวให้กว้างขวาง" 13,0019,020,ออกไป ตลอดถึงที่เรียกว่า สัญญี-สัญญา ในโยชนา. เพราะเมื่อเรียก 13,0019,021,ว่าสัญญา ก็ต้องมีสัญญีเป็นคู่กัน (สญฺา อสฺสา อตฺถีติ สญฺี)