Book,Page,LineNumber,Text 09,0027,001,เราต้องเอาศัพท์นี้กระจายออกไปว่า ภิกษุถึงพร้อมแล้ว ดังนี้แล้ว ต่อ 09,0027,002,นี้ควรหาอายตนิบาตของ ย ศัพท์ ตั้งแต่ ซึ่ง สู่ ฯลฯ ในเพราะ. 09,0027,003,เมื่อเห็นว่า คำว่าพร้อมแล้วต่อเข้ากับอายตนิบาตของ ย ศัพท์ตัวใด 09,0027,004,เหมาะและเข้ากันสนิท ก็ควรตัดสินในเถิดว่า ถ้าอายตนิบาตนั้นอยู่ใน 09,0027,005,วิภัตติใด ก็เป็นพหุพพิหินั้น ในที่นี้ คำว่า สมฺปตฺตา ถึงพร้อมแล้ว 09,0027,006,"เข้ากับ ซึ่ง ได้สนิท คือ ""ถึงพร้อมแล้วซึ่งอาวาสใด"" บทปลง" 09,0027,007,"ก็ต้องเป็น โส สมฺปตฺตภิกฺขุ อาวาสนั้นมีภิกษุถึงพร้อมแล้วดังนี้," 09,0027,008,วิธีหาพหุพพหิ ว่าจะเป็นพหุพพิหิอะไรก็ต้องต้นหาอายตนิบาตของ ย 09,0027,009,ศัพท์ ตั้งแต่ทุตินาวิภัตติเป็นต้นไปจนถึงสัตตมีวิภัตติ คำใดเหมาะเข้ากัน 09,0027,010,สนิทกับบทคุณคือวิเสสนะของตัวประธานในรูปวิเคราะห์ อายตนิบาต 09,0027,011,คำนั้นก็เป็นหลักตัดสินได้ว่าเป็นพหุพพิหินั้น ๆ ต่อไปนี้จะยกอุทาหรณ์ 09,0027,012,สำหรับพหุพิหิตั้งแต่ตติยาพุหพิหิ เพื่อเป็นเครื่องประกอบความรู้ของ 09,0027,013,นักศึกษาโดยสังเขป. 09,0027,014,๒. ตติยาพหุพพิหิ 09,0027,015,สมาสนี้ ย ศัพท์ประกอบด้วยตติยาวิภัตติ เพื่อแปลอายตนิบาต 09,0027,016,ของวิภัตตินี้ให้เข้ากันกับตัววิเสสนะในรูปวิเคราะห์ ดัง อุ. ชิตานิ 09,0027,017,อินฺทฺรยานิ เยน โส=ชิตินฺทฺริโย สมโณ อินทรีย์ ท. อันสมณะใด 09,0027,018,ชนะแล้ว สมณะนั้น ชื่อว่ามีอินทรีย์อันชนะแล้ว. ใน อุ. นี้ รูป 09,0027,019,วิเคราะห์เป็นพหุวจนะนปุํ. และมีลักษณะเป็นกัมมวาจก จึงสันนิษฐาน 09,0027,020,ได้ว่า เยน ที่เป็นตติยาวิภัตติ ต้องแปลว่า อัน จึงจะเข้ากับ ชิตานิ 09,0027,021,สนิท. อีกอย่างหนึ่ง ในพหุพพิหินี้ ตัววิเสสนะในรูปวิเคราะห์เรียงไว้