Book,Page,LineNumber,Text 11,0012,001,กัมมสาธนะ 11,0012,002,สาธนะนี้ เป็นชื่อของสิ่งที่ถูกทำ คือสิ่งใดถูกเขาทำ ก็เป็นชื่อ 11,0012,003,ของสิ่งนั้น กล่าวอย่างง่ายก็คือเป็นชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีผู้ทำขึ้น ใน 11,0012,004,สาธนะนี้กล่าวถึงสิ่งที่สำเร็จขึ้นโดยอาการ ๒ อย่างคือ ตามธรรมชาติ 11,0012,005,อย่าง ๑ บุคคลทำขึ้นอย่าง ๑ ที่สำเร็จตามธรรมชาตินั้น คือมิได้มีใคร 11,0012,006,เป็นผู้ทำขึ้น เช่น อุ. ว่า ปิโย (เป็นที่รัก) ก็หมายถึงว่าใครคนใด 11,0012,007,คนหนึ่งถูกอีกคนหนึ่งรัก เช่น บุตรธิดาถูกมารดาบิดารัก หรือมารดา 11,0012,008,บิดาถูกบุตรธิดารัก ฉะนั้นบุตรธิดาจึงได้ชื่อว่าเป็นที่รักของมารดาบิดา 11,0012,009,หรือมารดาบิดาได้ชื่อว่าเป็นที่รักของบุตรธิดา. รโส (วิสัยที่เป็นที่มา 11,0012,010,"ยินดี) ก็เช่นเดียวกัน, วิสัยในที่นี้หมายถึงอารมณ์. คำว่า ปิโย เป็น" 11,0012,011,ปิย ธาตุ ลง อ ปัจจัย แยกรูปออกตั้งวิเคราะห์ว่า (ปิตา) ปิเยติ 11,0012,012,ตนฺ-ติ [ ตํ+อิติ] ปิโย (ปุตฺโต). (บิดา) ย่อมรัก ซึ่งบุตรนั้น 11,0012,013,เหตุนั้น (บุตรนั้น) ชื่อว่า ปิโย เป็นที่รักของ (บิดา). 11,0012,014,อีก อุ. หนึ่ง คือ รโส เป็น รสฺ ธาตุ ลง อ ปัจจัย ตั้ง วิ. ว่า 11,0012,015,(ชโน) รสติ ตนฺ-ติ รโส (วิสโย). (ชน) ย่อมยินดี ซึ่งวิสัยนั้น 11,0012,016,เหตุนั้น (วิสัยนั้น) ชื่อว่า รโส เป็นที่ยินดี (ของชน). ทั้ง ๒ อุ. นี้ 11,0012,017,เป็นกัตตุรูป กัมมสาธนะ คือตัวสาธนะเป็นกรรม ส่วนรูปตั้งวิเคราะห์ 11,0012,018,"เป็นกัตตุวาจก ท่านบัญญัติให้แปลว่า ""เป็นที่-"" " 11,0012,019,ส่วนกรรมที่สำเร็จขึ้นโดยถูกบุคคลทำนั้น เช่น อุ. ว่า กิจฺจํ 11,0012,020,"(กรรมอันเขาพึงทำ), ทานํ (สิ่งของอันเขาพึงให้), คำว่า กิจฺจํ เป็น"