buddhist-theology / 46 /460026.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
46,0026,001,"เหตุนั้น พึงทราบความว่า ""เหตุแห่งความเป็นผู้เกียจคร้าน."" ด้วยเหตุ "
46,0026,002,"นั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า <B>"" โกสชฺชการณานีติ อตฺโถ. ""</B>"
46,0026,003,การงานเช่นนี้ สมควรแก่ภิกษุ ชื่อว่า การงาน เพราะฉะนั้น พระ
46,0026,004,"อรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า <B>""จีวรวิจารณาทิ.""</B> บทว่า <B> วีริยํ <B> ได้แก่ความ"
46,0026,005,เพียรที่เป็นประธาน. ก็ความเพียรนั้น ย่อมได้ซึ่งความเป็นคุณชาติอัน
46,0026,006,บัณฑิตพึงกล่าวว่า เป็นไปทางกายก็มี ในเพราะทำด้วยอำนาจการจงกรม
46,0026,007,เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า <B>ทุวิธมฺปิ.</B> บทว่า <B>ปตฺติยา</B>
46,0026,008,แปลว่า เพื่ออันถึง. ความท้อแท้ในการหมั่นประกอบภาวนา ชื่อว่า
46,0026,009,<B>โอสีทนํ.</B> กายใดหนักดุจน้ำอันถั่วราชมาสทั้งหลายสั่งสมคือหมักไว้เพราะ
46,0026,010,เหตุนั้น กายนั้นชื่อว่า เหมือนถั่วราชมาสอันชุ่ม. เพราะถั่วราชมาส
46,0026,011,ทั้งหลายชุ่มน้ำแล้ว ย่อมเป็นของหนักโดยวิเศษ ฉะนั้น พระอรรถ-
46,0026,012,"กถาจารย์ จึงกล่าวว่า <B>"" ยถา ตินฺตมาโส ""</B> เป็นต้น. สองบทว่า <B>วุฏฺ€ิ-"
46,0026,013,โต โหติ</B> อธิบาย ความไม่มีแห่งความไข้. บทว่า <B>เตสํ</B> คือ เหตุ
46,0026,014,ปรารภความเพียรทั้งหลาย. สองบทว่า <B>อิมินา ว นเยน</B> ความว่า
46,0026,015,โดยนัยนี้ คือ ตามที่กล่าวแล้วในเหตุของผู้เกียจคร้านนั่นแล. พึงทราบ
46,0026,016,"ความโดยนัยเป็นต้นว่า ""ภิกษุย่อมปรารภความเพียรแม้ทั้ง ๒ อย่าง"""
46,0026,017,"และโดยนัยเป็นต้นว่า"" สองบทว่า <B>อิทํ ป€มํ</B> ความว่า เหตุนี้ คือ"
46,0026,018,"ความขมักเขม้นในภาวนาอย่างนี้ว่า "" อย่ากระนั้นเลย เราจะปรารภ"
46,0026,019,"ความเพียร "" จัดเป็นเหตุปรารภความเพียรข้อที่ ๑."" จริงอยู่ ความ"
46,0026,020,ขมักเขม้นอันเป็นไปคราวแรกโดยประการใดประการหนึ่ง ย่อมเป็นเหตุ
46,0026,021,แห่งการปรารภความเพียรในคราวต่อไป ๆ ไป. เพราะความขมักเขม้น