buddhist-theology / 42 /420011.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
42,0011,001,"(ด้วยอรหัตตมรรค)."" "
42,0011,002,อรรถกถา<SUP>๑</SUP>แห่งอธิปเตยยสูตร จตุตถวรรคปฐมปัณณาสก์ ใน
42,0011,003,"ติกนิบาต อังคุตตรนิกา ว่า ""อธิบายว่า 'ภิกษุย่อมบริหาร "
42,0011,004,คือปฏิบัติ คุ้มครองตน ทำให้หมดจดคือให้หมดมลทิน. ก็ภิกษุนี้
42,0011,005,บริหารตนให้หมดจดอยู่ด้วยอรหัตตมรรค ชื่อว่าบริหารตนให้หมดจด
42,0011,006,"โดยปริยา, ส่วนท่านผู้บรรลุผลแล้ว จึงชื่อว่าบริหารตนให้หมดจด"
42,0011,007,"โดยนิปปริยาย."""
42,0011,008,"ฎีกาแห่งอธิปเตยยสูตรนั้นว่า ""สองบทว่า <B>นิมฺมลํ กตฺวา</B>"
42,0011,009,ความว่า ทำให้ปราศจากมลทิน เพราะพรากเสียซึ่งมลทิน มีราคะ
42,0011,010,เป็นต้น. บทว่า <B>โคปยติ</B> คือย่อมรักษาจากอนัตถะ คือสังกิเลส.
42,0011,011,บทว่า <B>อยํ</B> เป็นต้น ความว่า ภิกษุผู้ปฏิบัติได้อย่างนี้ ชื่อว่าบริหาร
42,0011,012,"ตนให้หมดจด เพราะไม่มีแม้แห่งกิเลสอันเป็นเหตุไม่บริสุทธิ์."""
42,0011,013,ท่านมิได้พรรณนาถ้อยคำอะไร ๆ ไว้ ในอรรถกถาและฎีกาแห่ง
42,0011,014,นคโรปมสูตรเลย เพราะท่านพรรณนาไว้แล้วในเบื้องต้นอย่างนี้.
42,0011,015,[๑๒๓] อนึ่ง พาหุสัจจะ ชื่อว่าเป็นมงคล แม้เพราะเป็นเหตุ
42,0011,016,แห่งการทำให้แจ้งซึ่งปรมัตถสัจโดยลำดับ. สมดังคำที่พระผู้มีพระ
42,0011,017,ภาค เมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ชื่อภารทวาชะ ตรัสไว้ว่า
42,0011,018,"""กุลบุตรผู้เกิดศรัทธาแล้ว ย่อมเข้าไปหา (บัณฑิต), ครั้นเข้าไปหา"
42,0011,019,"แล้ว ย่อมนั่งใกล้, เมื่อนั่งใกล้ ย่อมเงี่ยโสต, เงี่ยโสตแล้ว ย่อม"
42,0011,020,"สดับธรรม, ครั้งสดับแล้ว ย่อมทรางธรรมไว้, ย่อมพิจารณาเนื้อ"
42,0011,021,
42,0011,022,๑. มโน. ป. ๒/๑๖๙