buddhist-theology / 42 /420001.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
42,0001,001,มังคลัตถทีปนี แปล
42,0001,002,เล่ม ๒
42,0001,003,พรรณนาความแห่งคาถาที่ ๓
42,0001,004,[๑๑๕] พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๓: ความเป็นผู้มีสุตะมาก
42,0001,005,ชื่อว่า พาหุสัจจะ. ความเป็นผู้ฉลาดในหัตถกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
42,0001,006,ชื่อว่า ศิลปะ. แม้ในฎีกาแห่งวาเสฏฐสูตร ในมัชฌิมปัณณาสก์ ท่าน
42,0001,007,"ก็กล่าวว่า ""ความเป็นผู้ฉลาดในหัตถกรรม ชื่อว่า ศิลปะ เพราะ"
42,0001,008,"อรรถว่า อันบุคคลต้องศึกษาด้วยอุลายนั้น ๆ."" กฎสำหรับฝึกหัด"
42,0001,009,"กายวาจาและจิต อธิบายว่า ""เครื่องกัน เครื่องห้ามกายวาจา"
42,0001,010,และจิตเหล่านั้น จากอาบัติบ้าง จาโทษเครื่องทุศีลบ้าง จาก
42,0001,011,"อกุศลกรรมบถบ้าง ตามสมควร"" ชื่อว่า วินัย. ส่วนในอรรถกถา"
42,0001,012,ทั้งหลายมีสมันตปาสาทิกาเป็นต้น ท่านกล่าวหมายเอาพระวินัยปิฎก
42,0001,013,"อย่างเดียวว่า "" ก็อุบายนั่น ย่อมฝึกกายด้วย วาจาด้วย เพราะเกียดกัน"
42,0001,014,เสียซึ่งอัชฌาจารทางกายและทางวาจา เหตุนั้น อุบายนั่นจึงชื่อว่า
42,0001,015,"วินัย.<SUP>๑</SUP>"" ในอรรถกถา<SUP>๒</SUP>ท่านกล่าวว่า ""บทว่า ศึกษาดีแล้ว คือ"
42,0001,016,สำเหนียกแล้วด้วยดี. บทว่า กล่าวดีแล้ว คือกล่าวแล้วด้วยดี.
42,0001,017,ศัพท์ว่า <B>ยา</B> เป็นศัพท์แสดงอรรถไม่จำกัด. คำเปล่ง คือคำเป็นทาง
42,0001,018,
42,0001,019,๑. สมันตะ ๑/๑๘๒ ปรมัตถโชติกา ขุททกปาฐวัณณนา ๑๔๘.