buddhist-theology / 31 /310047.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
31,0047,001,เด็กผู้เจริญทั้งหลาย นั่นลูกนกสาลิกา. พวกเจ้าจงจับมัน.
31,0047,002,ทันใดนั้น เด็กน้อยคนหนึ่ง จับงูที่คออย่างมั่นดึงออกมา รู้ว่า
31,0047,003,มันเป็นงู จึงร้องขึ้น สลัดไปบนกระหม่อมของหมอผู้ยืนอยู่ไม่ไกล.
31,0047,004,งูรัดก้านคอหมอกัดอย่างถนัด ให้ถึงความสิ้นชีวิตในที่นั้นเอง.
31,0047,005,นายโกกะพรานสุนัขนี้ แม้ในกาลก่อนก็ประทุษร้ายต่อคนผู้ไม่ประทุษร้าย
31,0047,006,"ถึงความพินาศแล้วอย่างนี้เหมือนกัน."""
31,0047,007,พระศาสดา ครั้นทรงนำอดีตนิทานนี้มาแล้ว เมื่อจะทรงสืบ
31,0047,008,อนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า
31,0047,009,"<B>"" ผู้ใด ประทุษร้ายต่อนรชนผู้ไม่ประทุษร้าย ผู้"
31,0047,010,"บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลสดุจเนิน, บาปย่อมกลับถึงผู้"
31,0047,011,นั้นซึ่งเป็นคนพาลนั่นเอง เหมือนธุลีอันละเอียด
31,0047,012,"ที่เขาซัดทวนลมไปฉะนั้น.""</B>"
31,0047,013,[ แก้อรรถ ]
31,0047,014,บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>อปฺปทุฏฺ€สฺส</B> คือผู้ไม่ประทุษร้าย
31,0047,015,ต่อตนหรือต่อสรรพสัตว์. บทว่า <B>นรสฺส</B> ได้แก่ สัตว์. บทว่า
31,0047,016,<B>ทุสฺสติ</B> แปลว่า ย่อมประพฤติผิด. บทว่า <B>สุทฺธสฺส</B> คือผู้ไม่มี
31,0047,017,ความผิดเลย. แม้คำว่า <B>โปสฺส</B> นี้ ก็เป็นชื่อของสัตว์นั่นเอง โดย
31,0047,018,อาการอื่น.
31,0047,019,บทว่า <B>อนงฺคณสฺส</B> คือผู้ไม่มีกิเลส. คำว่า <B>ปจฺเจติ</B> ตัดบท
31,0047,020,เป็น <B>ปฏิ - เอติ</B> (แปลว่า ย่อมกลับถึง).
31,0047,021,บทว่า <B>ปฏิวาตํ</B> เป็นต้น ความว่า ธุลีที่ละเอียด อันบุรุษ