|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
19,0031,001,ดังนี้ ชื่อว่าคุณธรรม (แปลว่าธรรมคือคุณ). ธรรมศัพท์นี้ ใน
|
|
19,0031,002,"คำว่า ""ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมงามเบื้องต้น แก่ท่าน"
|
|
19,0031,003,"ทั้งหลาย"" ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าเทศนาธรรม (แปลว่าธรรมคือเทศนา)"
|
|
19,0031,004,"ธรรมศัพท์นี้ ในคำว่า ""ภิกษุทั้งหลาย อนึ่ง กุลบุตรบางจำพวกใน"
|
|
19,0031,005,"โลกนี้ ย่อมเรียนธรรม คือสุตตะ เคยยะ"" ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่า"
|
|
19,0031,006,ปริยัติธรรม (แปลว่าธรรมคือปริยัติ). ธรรมศัพท์นี้ ในคำว่า
|
|
19,0031,007,"""ก็สมัยนั้นแล ธรรมทั้งหลายย่อมมี ขันธ์ทั้งหลายย่อมมี"" ดังนี้"
|
|
19,0031,008,เป็นต้น ชื่อว่านิสสัตตธรรม (แปลว่าธรรมคือสภาพที่มิใช่สัตว์)
|
|
19,0031,009,"นัยแม้ในบทว่า ""นิชชีวธรรม"" (ซึ่งแปลว่าธรรมคือสภาพมิใช่ชีวิต)"
|
|
19,0031,010,ก็ดุจเดียวกัน. ในธรรม ๔ ประการนั้น นิสสัตตธรรมหรือนิชชีธรรม
|
|
19,0031,011,พระศาสดาทรงประสงค์แล้วในที่นี้. นิสสัตตธรรมหรือนิชชีวธรรม
|
|
19,0031,012,"นั้น โดยความก็อรูปขันธ์ ๓ ประการ คือ ""เวทนาขันธ์ สัญญา-"
|
|
19,0031,013,"ขันธ์ สังขารขันธ์,"" เหตุว่าอรูปขันธ์ ๓ ประการนั่น ชื่อว่ามีใจเป็น"
|
|
19,0031,014,หัวหน้า เพราะใจเป็นหัวหน้าของอรูปขันธ์ ๓ ประการนั่น.
|
|
19,0031,015,"มีคำถามว่า ""ก็ใจ มีวัตถุเดียวกัน มีอารมณ์เดียวกัน เกิด"
|
|
19,0031,016,ในขณะเดียวกัน พร้อมกับธรรมเหล่านั้น ไม่ก่อนไม่หลังกว่ากัน
|
|
19,0031,017,"ชื่อว่าเป็นหัวหน้าของธรรมเหล่านั้นอย่างไร ?"""
|
|
19,0031,018,"มีคำแก้ว่า ""ใจ ได้ชื่อว่าเป็นหัวหน้าของธรรมเหล่านั้น ด้วย"
|
|
19,0031,019,"อรรถว่า เป็นปัจจัยเครื่องยังธรรมให้เกิดขึ้น."" เหมือนอย่างว่า เมื่อ"
|
|
19,0031,020,พวกโจรเป็นอันมาก ทำโจรกรรมมีปล้นบ้านเป็นต้นอยู่ด้วยกัน เมื่อมี
|
|
19,0031,021,"ใครถามว่า ""ใครเป็นหัวหน้าของพวกมัน ?"" ผู้ใดเป็นปัจจัยของพวก"
|
|
|