|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0049,001,วิสาลตเม วเช มหิสานํ เอกูนทฺวิสตํ. [ ๒๔๗๕ ].
|
|
14,0049,002,[ สัพพนาม ]
|
|
14,0049,003,ถ. สัพพนาม มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? และต่างกันอย่างไร ?
|
|
14,0049,004,ต. มี ๒ คือ ปุริสสัพพนาม ๑ วิเสสนสัพพนาม ๑. ต่างกัน
|
|
14,0049,005,คือ ปุริสสัพพนาม สำหรับใช้แทนชื่อคน สัตว์ และสิ่งของต่าง ๆที่
|
|
14,0049,006,ได้ออกชื่อมาแล้ว เพื่อมิใช้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ ซึ่งไม่เพราะหู เช่น โส
|
|
14,0049,007,"เขา ตฺวํ เธอหรือท่าน, อหํ ข้าพเจ้าหรือเรา ตามฐานะสูงหรือต่ำ."
|
|
14,0049,008,ส่วนวิเสสนสัพพนาม ส่องความให้ทราบว่า สิ่งนั้น ๆ อยู่ใกล้หรือไกล
|
|
14,0049,009,"เช่น โส ชโน ชนนั้น, เอโส ธมฺโม ธรรมนั่น, อิทํ วตฺถุ วัตถุนี้,"
|
|
14,0049,010,อสุโก ปุคฺคโล บุคคลโน้น เป็นต้น. [ อ. น. ]
|
|
14,0049,011,ถ. ปุริสสัพพนาม แบ่งเป็นกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? และใช้ศัพท์
|
|
14,0049,012,อะไรประจำชั้นนั้น ๆ ?
|
|
14,0049,013,ต. แบ่งเป็น ๓ อย่าง คือ ประถมบุรุษ ๑ มัธยมบุรุษ ๑
|
|
14,0049,014,อุตตมบุรุษ ๑. ประถมบุรุษใช้ ต ศัพท์ มัธยมบุรุษใช้ ตุมฺห ศัพท์
|
|
14,0049,015,อุตตมบุรุษใช้ อมฺห ศัพท์.[ อ.น.]
|
|
14,0049,016,ถ. เหตุไร ปุริสสัพพนาม จึงแบ่งเป็นบุรุษ ๓ ?
|
|
14,0049,017,ต. เพราะให้ตรงกับบุรุษที่จัดไว้ในอาขยาต คือ ศัพท์ที่กิริยาใน
|
|
14,0049,018,อาขยาต ก็จัดบุรุษเป็น ๓ เหมือนกัน เมื่อศัพท์กิริยาจัดเป็น ๓ ศัพท์
|
|
14,0049,019,"ที่เป็นเจ้าของกิริยา ก็จำต้องจำให้เท่ากัน. [ อ.น. ]"""
|
|
14,0049,020,ถ. วิเสสนสัพพนาม แบ่งเป็นเท่าไร ? อะไรบ้าง ? และหมาย
|
|
|