|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0043,001,ปญฺจ อิตฺถิโย หญิง ๕ คน เป็นต้น จะว่าสังขยาไม่จำเป็นหาควรไม่.
|
|
14,0043,002,[ อ.น. ].
|
|
14,0043,003,ถ. ศัพท์คุณนามและสังขยา ต่างก็เป็นวิเสสนะของนามนาม
|
|
14,0043,004,เหมือนกัน ถ้าเช่นนั้น จะว่ามีลักษณะเหมือนกัน ถูกหรือไม่ ?
|
|
14,0043,005,หรือมีต่างกันอย่างไร ?
|
|
14,0043,006,ต. เป็นวิเสสนะของนามนามเหมือนกันจริง แต่จะว่ามีลักษณะ
|
|
14,0043,007,เหมือนกันไม่ถูก เพราะคุณนามแสดงลักษณะของนามนามให้รู้ว่า
|
|
14,0043,008,ดีหรือชั่ว เช่นคำว่า อ้วน ผอม ดำขาว เป็นต้น. ส่วนสังขยา
|
|
14,0043,009,"บอกจำนวนของนามนามว่ามีเท่าไร ? เช่น ๓, ๔, ๕ เป็นต้น. อีก"
|
|
14,0043,010,อย่างหนึ่ง เมื่อเพ่งถึงรูปศัพท์และความแล้วก็คือ ถ้าทั้ง ๒ ศัพท์อยู่
|
|
14,0043,011,ในประโยคเดียวกัน คุณนามต้องอยู่ใกล้นามนาม สังขยาอยู่ห่าง
|
|
14,0043,012,เช่นคำว่า ตโย กณฺหา ชนา ดำ ๓ คน. [อ. น. ].
|
|
14,0043,013,ถ. ใช้ต่ออย่างนี้ คือ สังขยาที่เป็นจำนวนหน่วยหรือจำนวนสิบ
|
|
14,0043,014,"ใช้ อุตฺตร ต่อท้ายจำนวนสังขยานั้น เช่น ปญฺจ เป็น ปญฺจุตฺตร,"
|
|
14,0043,015,เอกาทส เป็น เอกาทสุตฺตร เป็นต้น. ส่วน อธิก ใช้ต่อสังขยาที่
|
|
14,0043,016,เป็นจำนวนร้อยหรือพันขึ้นไป เช่น ๑๕๐๐ แยกเป็น ๕๐๐ จำนวนหนึ่ง
|
|
14,0043,017,"ตรงกับศัพท์บาลีว่า ปญฺจสต, ๑๐๐๐ อีกจำนวนหนึ่ง ตรงกับศัพท์"
|
|
14,0043,018,"บาลีว่า สหสฺส, ต่อ อธิก เข้าที่ท้าย ปญฺจสต สำเร็จรูปเป็น ปญฺจ-"
|
|
14,0043,019,สตาธิกสหสฺสํ. สมมติ ๒๕๗๕๐ ก็ประกอบว่า ปญฺาสุตฺตร-
|
|
|