|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0041,001,เตช ปย ยส วจ วย สิร. มีวิธีแปลงวิภัตติอย่างนี้ คือ นา กับ สฺมา
|
|
14,0041,002,"เป็น อา, ส ทั้ง ๒ เป็น โอ, สฺมึ เป็น อิ, แล้วลง ส อาคมเป็น สา"
|
|
14,0041,003,"เป็นโส เป็นสิ, เอา อํ เป็น โอ ได้บ้าง, เมื่อเข้าสมาสแล้ว ต้องเอา"
|
|
14,0041,004,สระที่สุดของตนเป็น โอ ได้ เหมือนคำว่า มโนคโณ หมู่แห่งมนะ
|
|
14,0041,005,อโยมยํ ของที่คุณทำด้วยเหล็ก . [ ๒๔๖๕ ].
|
|
14,0041,006,ถ. ศัพท์ประเภทไหน เมื่อย่อเข้าสมาสแล้ว ทำที่สุดให้แปลก
|
|
14,0041,007,จากปกติเดิมของตนได้ ? เหมือนคำว่ากระไร ?
|
|
14,0041,008,ต. ศัพท์ คือ มาตุ ธีตุ และ ศัพท์มโนคณะ เหมือนคำว่า
|
|
14,0041,009,เทวมาเต เทวธีเต มโนคโณ อโยมยํ เป็นต้น. [ ๒๔๗๕ ].
|
|
14,0041,010,ถ. ในที่เช่นไร แปลง อู แห่ง สตฺถุ เป็น อาร ? ในที่เช่นไร
|
|
14,0041,011,ไม่แปลง ? ในที่เช่นไร แปลงแล้วต้องรัสสะ ?
|
|
14,0041,012,"ต. นิมิต ปฐมา กับ จตุตถี ฉัฏฐี เอกวจนะ แปลงไม่ได้ , นิมิต"
|
|
14,0041,013,"วิภัตติอื่น ๆ แปลงได้, นิมิต สัตตมี เอกวจนะ ต้องรัสสะ.[ ๒๕๕๗ ]."
|
|
14,0041,014,ถ. ศัพท์ไหนบ้าง ที่ไม่นิยมเป็นลิงค์ใดลิงค์หนึ่งโดยแน่นอน ?
|
|
14,0041,015,ศัพท์เหล่านั้น ถ้าประสงค์จะใช้เป็นปุงลิงค์และอิตถีลิงค์ จะเปลี่ยนรูป
|
|
14,0041,016,เป็นอย่างไร ? แจกตามแบบไหน ?
|
|
14,0041,017,ต. ศัพท์ คือ โค [ โค ] สา [ สุนัข ] เมื่อประสงค์จะใช้เป็น
|
|
14,0041,018,"ปุงลิงค์ โค เปลี่ยนรูปเป็น โคณ, สา เป็น สุนข แจกตามแบบ ปุริส,"
|
|
14,0041,019,เมื่อประสงค์เป็น อิตถีลิงค์ โค เป็น คาวี สา เป็น สุนขี แจกตาม
|
|
14,0041,020,"แบบ นารี, สา ใน ปุงลิงค์ และอิตถีลิงค์ใช้ศัพท์อื่น ๆ นอกจาก สุนข"
|
|
14,0041,021,สุนขี ก็มี แจกตามการันต์ในลิงค์นั้น ๆ. [ ๒๔๖๖].
|
|
|