|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0015,001,มาแสดง ?
|
|
14,0015,002,"ต. พยัญชนะวรรคและ เอ, ห อยู่หลัง แปลงนิคคหิตเป็น "
|
|
14,0015,003,อุทาหรณ์ พุทฺธญฺจ มมญฺเว เอวญฺหิ. ย อยู่หลัง แปลนิคคหิต
|
|
14,0015,004,กับ ย เป็น อุทาหรณ์ สฺโชนํ. [๒๔๗๓ ].
|
|
14,0015,005,ถ. ในสระสนธิ เมื่อลบสระแล้ว อย่างไรต้องทีฆะ? อย่างไร
|
|
14,0015,006,ไม่ต้อง ? อุทาหรณ์ว่า โนเปติ เป็นทีฆสนธิใช่ไหม? เพราะเหตุไร ?
|
|
14,0015,007,ต. ถ้าลบสระยาวหรือสระสั้นที่มีรูปไม่เสมอกัน ต้องทีฆะสระสั้น
|
|
14,0015,008,ที่ไม่ได้ลบ ถ้าลบสระสั้นที่รูปไม่เสอมกัน ไม่ต้องทีฆะสระสั้นที่
|
|
14,0015,009,ไม่ได้ลบก็ได้. ไม่ใช่ เพราะทีฆะ ท่านประสงค์ทำสระสั้นให้ยาว เช่น
|
|
14,0015,010,"อ เป็น อา, อิ เป็น อี, อุ เป็น อี, อุ. ถ้าเอา อิ เป็น เอ เอา อุ เป็น"
|
|
14,0015,011,โอ ท่านเรียกวิการ. [ ๒๔๕๙].
|
|
14,0015,012,ถ.ในสนธิ ในที่เช่นไร วิการ อิ เป็น เอ และ อุ เป็น โอ
|
|
14,0015,013,ได้ จง ชักอุทาหรณ์มาด้วย ?
|
|
14,0015,014,ต. ในที่มีสระ อ อยู่ข้างหน้า วิการ อิ เป็น เอ และ อุ เป็น โอ
|
|
14,0015,015,"ได้ อุทาหรณ์ พนฺธฺสฺส= อิง พนฺธุสฺเสว, น -อุเปติ โนเปติ เว้น"
|
|
14,0015,016,ไว้แต่มีพยัญชนะสังโยคสะกดสระ อิ หรือ อุ นั้น อุทาหรณ์ เทว=
|
|
14,0015,017,"อินฺโท เทวินฺโท, จิตฺต = อุปฺปาโท จิตฺตุปฺปาโท. [ ๒๔๕๗ ]."
|
|
14,0015,018,ถ. ทีฆสนธินั้น แบ่งเป็นเท่าไร ? คืออะไรบ้าง ? อย่างไหน
|
|
14,0015,019,อุทาหรณ์อย่างไร ?
|
|
14,0015,020,ต. แบ่งเป็น ๒ คือ ทีฆะสระหน้าอย่าง ๑ ทีฆะสระหลังอย่าง ๑
|
|
14,0015,021,ทีฆะสระหน้านั้นดังนี้ สระหน้าเมื่อสระหลังลบแล้ว ทีฆะได้บ้าง
|
|
|