buddhist-theology / 14 /140004.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
14,0004,001,นิคคหิตอยู่เบื้องหลัง จัดเป็นครุ. สระที่เป็นรัสสะล้วน ไม่มีพยัญชนะ
14,0004,002,สังโยคและนิคคหิตอยู่เบื้องหลัง จัดเป็นลหุ. [ อ.น. ]
14,0004,003,ถ. เอ โอ เป็นรัสสสระได้ไหม ถ้าไม่ได้ก็แล้วไป ถ้าได้ ยก
14,0004,004,ตัวอย่างมาดู ?
14,0004,005,ต. ถ้ามีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลังเป็นรัสสสระได้ เหมือน
14,0004,006,คำว่า เสยฺโย โสตฺถิ เป็นต้น. [๒๔๖๖].
14,0004,007,ถ. เอ กับ โอ โดยฐานต่างจากสระอื่นอย่างไร จงบรรยายและ
14,0004,008,ชี้เหตุด้วย ?
14,0004,009,ต. สระอื่นเกิดในฐานเดียว เอ กับ โอ เกิดใ น ๒ ฐาน เอ เกิด
14,0004,010,ที่คอและเพดาน. โอ เกิดที่คอและริมฝีปาก. เพราะสระ ๒ ตัวนี้เป็น
14,0004,011,สังยุตตสระ. อ กับ อิ ผสมกันเป็น เอ. อ กับ อุ ผสมกันเป็น โอ.
14,0004,012,[ ๒๔๗๐ ].
14,0004,013,ถ. พยัญชนะ แปลว่ากระไร ? มีอุปการะแก่อักขรวิธีอย่างไร ?
14,0004,014,ต. พยัญชนะ แปลว่า ทำเนื้อความให้ปรากฏ คือให้ได้ความ
14,0004,015,ชัดเจนขึ้น มีอุปการะแก่อักขรวิธีมาก เพราะความลำพังสระซึ่งเรียก
14,0004,016,ว่านิสสัย ถ้าไม่มีพยัญชนะเข้าอาศัยแล้ว ก็ไม่ได้ความชัดตามภาษา
14,0004,017,"ินิยม เช่นจะพูดว่า ""ไปไหนมา"" ก็จะเป็น ""ไอไอ๋อา"" มีเสียง"
14,0004,018,เหมือนกันไปหมด. แต่เมื่อมีพยัญชนะเข้าอาศัยแล้ว เสียงก็ปรากฏ
14,0004,019,ชัด ได้ความตามภาษาให้สำเร็จประโยชน์ในการพูด การเขียนอักษร.
14,0004,020,[ อ. น. ].
14,0004,021,ถ. พยัญชนะ ๓๓ ตัวนั้น จัดเป็นวรรคก็มี เป็นอรรคก็มี การ