|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
12,0021,001,<B>สุวณฺณรสธารา วิย จ เอกจกฺกวาฬคพฺภโต อุคฺคนฺตฺวา พฺรหฺม-
|
|
12,0021,002,โลกํ อาหจฺจ ปฏินิวตฺติตฺวา จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิเมว คณฺหึสุ.</B>
|
|
12,0021,003,[ ยมกปฺปาฏิหาริย. ๖/๘๔ ] ' ก็เพราะท่านกล่าวไว้ว่า<B> ฉนฺนํ วณฺณานํ </B>
|
|
12,0021,004,รัสมี ๖ สีของพระพุทธองค์ พวยพุ่งขึ้นจากห้องแห่งจักรวาฬอันหนึ่ง
|
|
12,0021,005,จดพรหมโลกแล้ววกลับจับของจักรวาฬทีเดียว ดุจทองคำคว้างไหล
|
|
12,0021,006,ออกจากเบ้า และดุจท่อน้ำทองคำออกจากทะนานยนต์' [<B>วิลีนสุวณฺณํ</B>
|
|
12,0021,007,และ <B>สุวณฺณรสธารา</B> ต่างเป็นอุปมาลิงคัตตะ และไม่ต้องเติมบทกิริยา
|
|
12,0021,008,กิตก์เข้ามาเป็นวิเสสนะ เพราะต่างมีวิเสสนะของตนแล้ว ].
|
|
12,0021,009,"๕) <B>มนุสฺสสีสํ วิย อสฺส สีสํ, อหิสฺส [ อตฺตภาโว ] วิยสฺส"
|
|
12,0021,010,เสโส อตฺตภาโว./B> [ อหิเปต. ๓/๑๕๔ ] ศีรษะของเปรตนั้น คล้าย
|
|
12,0021,011,"ศีรษะของมนุษย์, อัตภาพที่เหลือของเปรตนั้น คล้าย [อัตภาพ]"
|
|
12,0021,012,ของงู.
|
|
12,0021,013,บทอุปมาลิงคัตถะนี้ นิยมแปลทีหลังกิริยาในพากย์บ้าง เช่น
|
|
12,0021,014,อุ. ที่ ๑ ที่หลังกิริยาในพากยางค์บ้าง เช่น อุ. ที่ ๒. ทั้งนี้แล้วแต่
|
|
12,0021,015,จะมีความเนื่องกับกิริยาไหน และนิยมเติมบทกิริยากิตก์ อันประกอบ
|
|
12,0021,016,ด้วย อนฺต หรือ มาน ปัจจัย ใช้ธาตุเกี่ยวกับกิริยาในพากย์ หรือ
|
|
12,0021,017,พากยางค์ที่มีความเนื่องถึงกันนั้น เข้ามาเป็นบทวิเสสนะ เช่น อุ.
|
|
12,0021,018,ที่ ๑ และที่ ๒ นั้น ทั้งนี้เว้นแต่บทอุปมาลิงคัตถะนั้นจะมีบทวิเสสนะ
|
|
12,0021,019,ที่ใช้แทนกันได้แล้ว เช่น อุ. ที่ ๑ หรือมีบทกิริยากิตก์เป็นวิเสสนะ
|
|
12,0021,020,ของตนเอง เช่น อุ. ที่ ๔. อนึ่ง ในประโยค ลิงคัตถะ ที่มีประโยค
|
|
12,0021,021,อุปมาแทรก การเติมและไม่เติม พึงเทียบโดยนับเดียวกัน แต่ศัพท์
|
|
|