|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
10,0024,001,ประโยคภาษาบาลี จำเป็นที่ผู้ศึกษาจะต้องหาตัวประธานเอง การที่จะ
|
|
10,0024,002,หาให้ถูกต้อง จำเป็นที่จะต้องรู้จักวิธีเลือกใช้ ตามหลักที่ท่านวางไว้
|
|
10,0024,003,มีอยู่ว่า ต้องสังเกตดูที่ศัพท์กิริยา กิริยาศัพท์ใด ประกอบด้วยวจนะ
|
|
10,0024,004,ฝ่ายไหน ก็ต้องประกอบตัวประธานให้ตรงกันกับวจนะของกิริยาศัพท์
|
|
10,0024,005,นั้น ถ้า วจนะ ของนามที่เป็นประธานของกิริยากับกิริยาไม่ตรงกัน
|
|
10,0024,006,เป็นอันไม่ถูกต้อง ใช้ไม่ได้ ฉะนั้น วจนะของตัวประธานในประโยค
|
|
10,0024,007,กับ วจนะ ของกิริยาต้องลงร้อยกัน คือ ถ้าเห็นกิริยาเป็นเอกวจนะ
|
|
10,0024,008,ก็ต้องหาตัวประธานให้เป็น เอกวจนะ ตาม ถ้าเป็นพหุวจนะ ก็ต้อง
|
|
10,0024,009,หาให้เป็น พหุวจนะ ให้กลมกลืนเป็นอย่างเดียวกัน จึงจะนับว่าถูก
|
|
10,0024,010,ต้อง เช่นอุทาหรณ์ในประโยคว่า อลงฺกโต เจปิ สมญฺจเรยฺย ซึ่งท่าน
|
|
10,0024,011,มิได้วางตัวประธานไว้ด้วย เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็ต้องดูที่กิริยา คือ สมญฺจ-
|
|
10,0024,012,เรยฺย เมื่อเราแกยออก ก็จะเห็นเป็น เอยฺย วิภัตติ ปฐมบุรุษฝ่าย
|
|
10,0024,013,เอวจนะ ฉะนั้น จึงต้องประกอบตัวประธานให้เป็น เอววจนะ ตาม
|
|
10,0024,014,จึงได้ตัวประธานเป็น ชโน หรือคำอื่น ๆ อีก เช่น ปุคฺคโล มนุสฺโส
|
|
10,0024,015,ฯลฯ แล้วแต่จะเหมาะแก่เนื้อความในที่นั้น ๆ ขอแต่ให้ วจนะ
|
|
10,0024,016,ลงกับกิริยาแล้วเป็นใช้ได้ แต่ที่จะหาตัวประธานให้ถูกต้องแน่นอน
|
|
10,0024,017,ยังต้องอาศัยบุรุษเป็นเครื่องชี้อีกต่อหนึ่ง ซึ่งจะกล่าวข้างหน้า.
|
|
10,0024,018,ประธานเอกวจนะหลายตัว
|
|
10,0024,019,ได้กล่าวแล้วว่า ประธานเป็นเอกวจนะ กิริยาก็ต้องเป็นเอก-
|
|
10,0024,020,วจนะตาม แต่ถ้ามีประธานเอกวจนะหลายตัว นับตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป
|
|
10,0024,021,"และประธานนั้นประกอบด้วย จ ศัพท์ ซึ่งแปลว่า<B> ""ด้วย""</B> หรือ"
|
|
|