buddhist-theology / 10 /100018.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
10,0018,001,ล่วงเลยมาแล้ว แต่ผู้พูดนำมาสมมติกล่าเท้าถึงความเบื้องหลังอีก
10,0018,002,คือ เรื่องราวหรือการกระทำนั้นยังไม่มาถึงส่วนอดีต <B>กาล</B> นี้ ท่าน
10,0018,003,"บัญญัติให้แปลว่า <B>""จัก-แล้ว"" </B> แต่ถ้าลง อ อาคม ให้แปลว่า <B>""จัก"
10,0018,004,"ได้-แล้ว"" </B> เช่น อุ. ว่า ภิกฺขเว สจายํ เอกสาฏโก ป€มยาเม มยฺหํ"
10,0018,005,"ทาตุํ อสกฺขิสฺส, สพฺพโสฬสกํ อลภิสฺส; สเจ มชฺฌิมยาเม ทาตุํ"
10,0018,006,"อสกฺขิสฺส, สพฺพฏฺ€กํ อลภิสฺส; ภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าพราหมณ์ "
10,0018,007,"เอกสาฎกนี้ จักได้อาจแล้วเพื่ออันให้แก่เราในปฐมยามไซร้, เขาจัก"
10,0018,008,"ได้แล้วซึ่งหมวด ๑๖ แห่งวัตถุทั้งปวง, ถ้าว่าเขาจักได้อาจแล้วเพื่อ"
10,0018,009,"อันให้ในมัชฌิมยามไซร้, เขาจักได้แล้วซึ่งหมวด ๘ แห่งวัตถุทั้งปวง."
10,0018,010,นี้แสดงให้เห็นว่า เรื่องราวได้เสร็จสิ้นมาแล้ว แต่กลับยกมากล่าว
10,0018,011,ถึงอีกครั้งหนึ่ง ในฐานะเช่นนี้ ประโยคหน้าต้องมีคำปริกัปคือ สเจ
10,0018,012,(ถ้าว่า) เสมอ เพราะเป็นคำสมมติกล่าว แต่การนั้นหาเป็นไปจริง
10,0018,013,ตามที่กล่าวไม่ เพราะผู้นั้นมิได้ทำดังที่ผู้พูดกล่าวถึง.
10,0018,014,วิธีสังเกตกาล
10,0018,015,การที่เราจะกำหนดรู้ได้ว่า กิริยาศัพท์นี้เป็นกาลอะไร ต้องอาศัย
10,0018,016,วิภัตติเป็นหลักสังเกต เพราะกิริยาศัพท์ประกอบด้วยวิภัตติแต่ละหมวด
10,0018,017,ย่อมบ่งให้ทราบกาลต่อไปในตัวด้วย ดังนี้:-
10,0018,018,กิริยาศัพท์ใด ประกอบด้วยวิภัตติตัวใดตัวหนึ่ง ในหมวดของ
10,0018,019,วิภัตติทั้ง ๓ นี้ คือ <B>วัตตมานา ปัญจมี และ สัตตมี กิริยาศัพท์นั้น
10,0018,020,ย่อมบอก ปัจจุบันกาล.</B>
10,0018,021,กิริยาศัพท์ใด ประกอบด้วยวิภัตติตัวใดตัวหนึ่ง ในหมวดของ