buddhist-theology / 09 /090015.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
Book,Page,LineNumber,Text
09,0015,001,เป็นแต่ลบวิภัตติที่สังขยาเสียเท่านั้น หรือจะคงไว้อย่างอลุตตสมาส
09,0015,002,ก็ได้. ดังจะได้แสดงอุทาหรณ์พอเป็นเครื่องสังเกต คือ:-
09,0015,003,<B>สมาหาระ</B> อุ. ตโย โลกา=ติโลกํ โลกสาม. บทว่า โลกา เดิม
09,0015,004,เป็นพหุวจนะ ตโย ก็เป็นพหุวจนะเหมือนกัน เมื่อเข้าสมาสกันแล้ว
09,0015,005,ตโย คงรูปเป็น ติ ตามเดิม คือเป็นเหมือนเมื่อครั้งไม่ได้แจกวิภัตติ
09,0015,006,โลก ศัพท์ ตามปกติเป็นปุํ. แต่เมื่อเข้าสมาสกับสังขยา ซึ่งอยู่ข้าง
09,0015,007,หน้าแล้ว โลก ศัพท์ก็ต้องเปลี่ยนไปเป็น นปุํ. เอกวจนะ ตามกฎของ
09,0015,008,สมาหารทิคุ ถึงแม้เข้ากับสังขยาอื่น ๆ ก็คงเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน
09,0015,009,เช่น อุ. จตสฺโส ทิสา เป็น จตุทฺทิสํ (ซ้อน ท ตามแบบสนธิ) ปญฺจ
09,0015,010,อินฺทิริยานิ เป็น ปญฺจินฺทฺรยํ (เข้าสนธิอีกชั้นหนึ่ง).
09,0015,011,<B>อสมาหาระ</B> ได้แก่ทิคุที่ไม่ได้ทำอย่างนั้น คือไม่ได้นิยมบท
09,0015,012,ปลงให้เอกวจนะ นปุํ. คงไว้ตามรูปของศัพท์หลังอันเป็นประธาน
09,0015,013,เดิมเป็นลิงค์ใดวจนะใด ก็คงไว้อย่างนั้น อุ. ว่า เอโก ปุคฺคโล=เอก-
09,0015,014,ปุคฺคโบ บุคคลผู้เดียว ข้อนี้เป็นแต่เอาเอกศัพท์ต่อกับปุคฺคล และ
09,0015,015,ลบวิภัตติที่เอกศัพท์เสียเท่านั้น ปุคฺคล คงลิงค์และวจนะได้ตามเติม
09,0015,016,ไม่เปลี่ยนแปลง แม้บทอื่น ๆ ซึ่งเข้าสมาสด้วยวิธีนี้แล้ว ก็เป็นตาม
09,0015,017,รูปนั้น เช่น:- จตฺตาโร มคฺคา เป็นจตุมคฺคา มรรคสี่ ท. จตสฺโส
09,0015,018,ทิสา เป็น จตุทฺทิสา ทิศสี่ ท. ข้อพึงเข้าใจก็คือ ทิคุสมาสนี้คล้ายกับ
09,0015,019,วิเสสนบุพพบท กัมมธารยสมาส แปลกแต่วิเสสนะ ทิคุสมาส นิยม
09,0015,020,ศัพท์คือปกติสังขยาคุณเท่านั้น ถ้าเป็นศัพท์อื่นนอกจากสังขยาคุณแล้ว
09,0015,021,ต้องเป็นวิเสสนบุพพบท ส่วนสังขยานาม เมื่อเข้าสมาสต้องเรียงไว้ข้าง