|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0001,001,อธิบายสมาส
|
|
09,0001,002,พระธรรมวราลังการ (จับ ิตธมฺโม ป.ธ. ๙) วัดโสมนัสวิหาร
|
|
09,0001,003,เรียบเรียง
|
|
09,0001,004,คำพูดในภาษาหนึ่ง ๆ มีทั้งคำพูดพิสดาร คือพูดอย่างเต็มความ
|
|
09,0001,005,มีทั้งคำพูดย่อ คือพูดอย่างสั้น แต่เข้าใจความหมายกัน ได้เนื้อ
|
|
09,0001,006,ความมาก และชัดเจน ในภาษาไทยเรา ก็มีความย่อเช่นนั้นเหมือนกัน
|
|
09,0001,007,เช่น รถเทียมด้วยม้า ย่อมเป็นรถม้าเป็นต้น แม้ในภาษาบาลี ก็มีคำ
|
|
09,0001,008,ย่อดุจเดียวกัน ถ้าย่อนามศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไป ให้เข้าเป็นบท
|
|
09,0001,009,เดียวกัน เรียกว่า <B>สมาส</B> แปลว่าศัพท์ที่ย่อเข้า คือย่อให้สั้นเพื่อ
|
|
09,0001,010,ใช้วิภัตติให้น้อมลงบ้าง เพื่อจะให้เนื้อความเข้ากันในทางสัมพันธ์
|
|
09,0001,011,ืคือไม่ให้เข้าใจเขวไปว่า เนื้อความนั้น ๆ แยกไปเข้ากันบทอื่น ถึง
|
|
09,0001,012,แม้ว่าเมื่อเข้าสมาสกันแล้ว วิภัตติจะไม่ลบก็ดี แต่มีประโยชน์ในอัน
|
|
09,0001,013,ที่จะทำความแน่นอนลงไปว่าศัพท์นั้นเป็นอันเดียวกัน จะแยกจากกัน
|
|
09,0001,014,ไปเป็นอย่างอื่นไม่ได้ และบางคราวให้มีเนื้อความพิเศษขึ้นก็มี เช่น
|
|
09,0001,015,พหุพพิหิสมาส ท่านนิยมให้แปลว่า มี ข้างหน้า ดัง อุ. ว่า กตกิจฺโจ
|
|
09,0001,016,แปลว่า ผู้มีกิจอันทำแล้ว ดังนี้ และ อุ. ว่า ทูเรนิทานํ (วัตถุ)
|
|
09,0001,017,มีนิทานในที่ไกล สมาสมีประโยชน์ดังกล่าวนี้ ฉะนั้น ท่านจึง
|
|
09,0001,018,ได้จัดไว้เป็นไวยากรณ์ประเภทหนึ่ง ในบรรดาบาลีไวยากรณ์ทั้งหลาย.
|
|
09,0001,019,วิเคราะห์แห่งสมาส
|
|
09,0001,020,นามศัพท์ที่ยังไม่ประกอบด้วยวิภัตติ เรียก ศัพท์ เช่น มหนฺต
|
|
|