|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0018,001,"เป็น อ ข้างหนึ่งเป็น อิ หรือ อุ ก็ดี, ข้างหนึ่งเป็น อิ ข้างหนึ่งเป็น อุ"
|
|
07,0018,002,"หรือ อ ก็ดี, ข้างหนึ่งเป็น อุ ข้างหนึ่งเป็น อ หรือ อิ ก็ดี, เมื่อลบสระ "
|
|
07,0018,003,หน้าแล้ว ไม่ต้องทีฆะก็ได้ เช่น จตูหิ=อปาเยหิ เป็น จตูปาเยหิ.
|
|
07,0018,004,ค. ถ้าสระทั้ง ๒ เป็นรัสสะมีรูปเสมอกัน คือ เป็น อ หรือ อิ
|
|
07,0018,005,หรือ อุ ทั้ง ๒ ตัว เมื่อลบแล้ว ต้องทำสระที่ไม่ได้ลบด้วยทีฆะสนธิที่
|
|
07,0018,006,แสดงไว้ข้างหน้า เช่น ตตฺร=อยํ เป็น ตตฺรายํ เป็นต้น.
|
|
07,0018,007,ง. ถ้าสระหน้าเป็นทีฆะ สระเบื้องปลายเป็นรัสสะ เมื่อลบสระ
|
|
07,0018,008,หน้าแล้ว ต้องทีฆะสระหลัง เช่น สทฺธา=อิธ เป็น สทฺธีธ เป็นต้น.
|
|
07,0018,009,เมื่อจะกล่าวโดยย่อ ก็คือ ถ้าลบสระสั้นที่มีรูปไม่เสมอกัน ไม่
|
|
07,0018,010,"ต้องทีฆะสระสั้นที่ไม่ได้ลบก็ได้, ถ้าลบสระสั้นที่มีรูปเสมอกัน หรือลบ"
|
|
07,0018,011,สระยาวที่มีสระสั้นอยู่เบื้องปลาย ต้องทีฆะสระนั้นที่ไม่ได้ลบ.
|
|
07,0018,012,ส่วนลบสระหลังนั้น มีกฎเกณฑ์วางไว้จำกัด คือ สระหน้าและ
|
|
07,0018,013,สระหลังทั้ง ๒ ตัว ต้องมีรูปไม่เสมอกัน จึงลบได้ และเมื่อต่อกันเข้า
|
|
07,0018,014,"แล้ว ไม่ต้องทีฆะสระสั้นที่ไม่ได้ลบก็ได้, ถ้าลบสระสั้นที่มีรูปเสมอกัน หรือลบ"
|
|
07,0018,015,สระยาวที่มีสระสั้นอยู่เบื้องปลาย ต้องทีฆะสระสั้นที่ไม่ได้ลบ.
|
|
07,0018,016,ส่วนลบสระหลังนั้น มีกฎเกณฑ์วางไว้จำกัด คือ สระหน้าและ
|
|
07,0018,017,สระหลังทั้ง ๒ ตัว ต้องมีรูปไม่เสมอกัน จึงลบได้ และเมื่อต่อกันเข้า
|
|
07,0018,018,แล้ว ไม่ต้องทีฆะสระสั้นที่ไม่ได้ลบ เช่น จตฺตาโร = อิเม เป็นจตฺตาโรเม
|
|
07,0018,019,"นี้ลบ อิ ที่ศัพท์หลัง คือ อิเม เสีย, กินฺนุ=อิมา เป็นกินฺนุมา นี้ลบ อิ"
|
|
07,0018,020,"ที่ศัพท์หลัง คือ อิมา เสีย และไม่ต้องทีฆะ อุ ที่ศัพท์หน้า, นิคคหิต"
|
|
07,0018,021,อยู่หน้า ลบสระหลังบ้างก็ได้ เช่น อภินนฺทุํ = อิติ เป็น อ ภินนฺทุนฺติ นี้
|
|
07,0018,022,ลบ อิ ที่ศัพท์หลัง คือ อิติ แล้วแปลง นิคคหิตเป็น น.
|
|
07,0018,023,<Bฬอาเทโส<B/> มี ๒ คือ แปลงสระหน้า ๑ แปลงสระหลัง ๑.
|
|
07,0018,024,แปลงสระหน้านั้น ดังนี้ :-
|
|
07,0018,025,ถ้า อิ เอ หรือ อุ โอ อยู่หน้า มีสระอยู่เบื้องหลัง แปลง อิ เอ หรือ
|
|
|