|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0009,001,ฬ เช่น รุฬฺโห (งอกแล้ว) มุฬฺโห (หลงแล้ว)
|
|
07,0009,002,เหล่านี้ ท่านกล่าวว่าเกิดแต่อก เรียก อุรชา แต่ที่ไม่ได้ประกอบด้วย
|
|
07,0009,003,พยัญชนะเหล่านั้น ก็เกิดในคอ ตามฐานเดิมของตน.
|
|
07,0009,004,ผู้แรกศึกษา เมื่อได้อ่านตอนจบแล้ว บางคนจะนึกสงสัยว่า
|
|
07,0009,005,ข้างท้ายของฐาน (ที่เกิด) แห่งอักขระ บางแห่งเป็น ชา เช่น
|
|
07,0009,006,กณฺชา ตาลุชา บางแห่งเป็น โช เช่น กณฺตาลุโช กณฺโฏฺโช
|
|
07,0009,007,ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ข้อนี้ถ้าใช้ความสังเกตสักเล็กน้อยแล้ว จะเข้าใจได้
|
|
07,0009,008,ทันที เพราะที่ลงท้ายเป็น ชา เช่น กณฺชา ตาลุชา นั้น เป็นพหุวจนะ
|
|
07,0009,009,คือพูดถึงอักขระหลายตัว ส่วนที่ลงท้ายเป็น โช เช่น กณฺโฏฺโช
|
|
07,0009,010,ทนฺโตฏฺโช ล้วนแต่เป็นเอกวจนะ คือพูดถึงอักขระเฉพาะตัวเดียว
|
|
07,0009,011,เท่านั้น เพราะฉะนั้น ควรกำหนดเสียให้แม่นยำว่า ถ้ากล่าวถึงอักขระ
|
|
07,0009,012,ตัวเดียวให้ลงท้ายเป็นเสียง โอ เช่น อ เกิดในคอ เรียก กณฺโช อิ
|
|
07,0009,013,เกิดที่เพดาน เรียก ตาลุโช แต่ถ้ากล่าวถึงอักขระหลายตัว ให้ลงท้าย
|
|
07,0009,014,เป็นเสียง อา เช่น อ อา เกิดในคอ เรียก กณฺชา อิ อี เกิดที่
|
|
07,0009,015,เพดาน เรียก ตาลุชา ดังนี้เป็นตัวอย่าง.
|
|
07,0009,016,กรณ์
|
|
07,0009,017,กรณ์ คือ ที่ทำอักขระมี ๔ คือ ชิวฺหามชฺฌํ ท่ามกลางลิ้น ๑.
|
|
07,0009,018,ชิวฺโหปคฺคํ ถัดปลายลิ้นเข้ามา ๑. ชิวฺหคฺคํ ปลายลิ้น ๑. สกฏฺานํ
|
|
07,0009,019,ฐานของตน ๑.
|
|
07,0009,020,"ท่ามกลางลิ้น เป็นกรณ์ของอักขระที่เป็น ตาลุชะ คือ อิ อี, จ ฉ"
|
|
07,0009,021,"ช ฌ , ย."
|
|
|