buddhist-theology / 12 /120038.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.66 kB
Book,Page,LineNumber,Text
12,0038,001,กิริยาวิเสสน.
12,0038,002,บางบท มีรูปเป็นภาวสาธนะ แต่ถ้าใช้หมายถึงข้อปฏิบัติ
12,0038,003,ธรรมหรือสภาพอย่างหนึ่ง มิใช่เป็นกิริยาอาการตามปกติ เช่นนี้ แม้
12,0038,004,จะมีธาตุซ้ำกับกิริยาข้างหลัง ก็มิใช่กิริยาวิเสสน เช่น <B>พฺรหฺมจริยํ
12,0038,005,จรติ </B> [ นนฺทตฺเถร. ๑/๑๑๖ ] ถ้าเพ่งความว่า <B>พฺรหฺมจริยํ</B> เป็นต้น
12,0038,006,ปฏิบัติหรือธรรมที่พึงปฏิบัติอย่างหนึ่ง ก็เป็นอวุตตกัมมใน จรติ.
12,0038,007,แท้จริง ข้อที่ว่า มีรูปเป็นภาวสาธนะ แต่ใช้หมายถึงธรรมปฏิบัติ
12,0038,008,อย่างหนึ่งนั้น อาจมีได้. ที่ท่านใช้คำว่า <B>ธมฺม</B> เข้าสมาสด้วยก็มี เช่น
12,0038,009,<B>ภิกฺขาจริยธมฺมํ สุจริติ จเรยฺย</B> [ สุทฺโธทน. ๖/๓๓ ] 'พึงประพฤติ
12,0038,010,ซึ่งธรรมคือความเที่ยวไปเพื่อภิกษา ให้สุจริต.' อนึ่ง คำว่า <B>พฺรหฺมจริยํ</B>
12,0038,011,นั้น ถ้าเพ่งความว่าเป็นกิริยาอาการ ก็เป็นกิริยาวิเสสน ใน จรติ.
12,0038,012,เพราะเหตุนี้ ผู้ศึกษาพึงเข้าใจโดยย่อว่า บทกิริยาวิเสสนใน
12,0038,013,อรรถซ้ำกับกิริยาข้างหลังตนนั้น ต้องซ้ำธาตุทั้งเป็นภาวสาธนะ ที่ใช้
12,0038,014,เป็นกิริยาอาการปกติ นอกจากนี้ มิใช่กิริยาวิเสสน. และบางบท
12,0038,015,เมื่อเพ่งเข้าแล้ว อาจใช้เป็นกิริยาวิเสสนก็ได หรืออย่างอื่นก็ได้ เช่นนี้
12,0038,016,ควรทำความรู้เข้าไว้ เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะ และจำได้ไม่ด่วน
12,0038,017,เอาผิดผู้อื่น.
12,0038,018,กิริยาวิเสสนที่ใช้ในอรรถซ้ำกับกิริยาข้างหลังตน มีใช้กับอกัมม
12,0038,019,ธาตุโดยมาก แต่ที่ใช้กับสกัมมธาตุก็มีบ้าง เช่น <B> ปุถุชฺชนกาลกิริยํ
12,0038,020,กตฺวา </B> ที่แสดงแล้ว. ส่วนกิริยาวิเสสนนอกนี้ ใช้กับอกัมมธาตุบ้าง