buddhist-theology / 12 /120036.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.61 kB
Book,Page,LineNumber,Text
12,0036,001,กิริยาวิเสสน จึงเป็นวิเสสน คือเป็นคุณบทแห่งกิริยานั่นเอง คำว่าเป็น
12,0036,002,คุณบทแห่งกิริยา หมายความว่า ใช้ในฐานเป็นคุณบทแห่งกิริยา เพราะ
12,0036,003,เป็นนามนาม แต่ใช้แต่งกิริยา อุ. <B>สุขํ เสติ</B> (ในแบบ) ' ย่อม นอน
12,0036,004,(อยู่) เป็นสุข.' สุขํ เป็นกิริยาวิเสสนแต่ง เสติ ให้แปลกจากปกติ.
12,0036,005,แปลกอย่างไร ? ลำพัง เสติ หมายความว่า นอนตามปกติ มี<B> สุขํ</B>
12,0036,006,เข้าแต่ง ก็ทำให้ผิดปกติไปว่า นอนเป็นสุข. <B>สุสุขํ วต ชีวาม.</B>
12,0036,007,[มาร. ๖/๑๒๔] 'เราทั้งหลาย เป็นอยู่สุขดีหนอ.' กิริยาวิเสสนนี้
12,0036,008,ไม่ใช้อายตนิบาต ดุจบทวิเสสนทั้งปวง.
12,0036,009,[ ๒ ] ศัพท์นามกิตก์ซึ่งประกอบด้วย ทุติยาวิภัตติ ที่ใช้ในอรรถ
12,0036,010,ซ้ำกับกิริยาข้างหลง ก็เรียกว่ากิริยาวิเสสน อุ. <B>มหาวิรวํ วิรวึสุ.</B>
12,0036,011,[ ฉพฺพคฺคิยภิกฺขุ. ๕/๔๔ ] 'ร้องเอ็ด' <B> มหาวิรวํ </B>ซ้ำกับกิริยาข้างหลังตน
12,0036,012,ีคือ <B>วิรวึสุ </B>จึงเป็น กิริยาวิเสสน ใน <B>วิรวึสุ. วิตกฺกํ วิตกฺเกสฺสสิ</B>.
12,0036,013,[ มารธีตา. ๖/๖๕ ] 'จักตรึกวิตก.' <B>มหาอปฺโป€ิกํ อปฺโปเ€สิ.</B>
12,0036,014,[อชครเปต. ๕/๕๖] 'ปรบดัง.'
12,0036,015,[ ๓ ] ข้อว่าซ้ำกับกิริยาข้างหลังตน คือซ้ำธาตุ ๑ เป็นกิริยา-
12,0036,016,นามนาม คือภาวสาธนะ. ๑ เช่น <B>มหาวิรวํ</B> ซ้ำธาตุกับ <B>วิรวึสุ</B> คือ
12,0036,017,ธาตุเดียวกัน และเป็นภาวสาธนะ แปลโดยพยัญชนะว่า ร้องแล้ว
12,0036,018,การร้องเอ็ด. อุ. อื่น ๆ ก็มีนัยเดียวกัน. ถ้าเพียงแต่ซ้ำธาตุ แต่มี
12,0036,019,ใช่ภาวสาธนะ ก็ไม่ชื่อว่า ซ้ำกับกิริยาข้างหลัง ไม่เป็นกิริยาวิเสสน
12,0036,020,อุ. <B>ทานํ เทติ </B> ' ย่อมให้ซึ่งทาน ' [<B>ทานํ</B> ในที่นี้เป็น กัมมสาธานะ