buddhist-theology / 12 /120027.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.61 kB
Book,Page,LineNumber,Text
12,0027,001,"ฉะนั้นจึงกล่าวรวมกันได้ว่า ""เป็นของที่เขาทำให้พากย์ที่เป็นกรรมวาจก "
12,0027,002,"และเหตุกรรมวาจก."" "
12,0027,003,[ ๓ ] บทนามนามที่ประกอบ ปฐมาวิภัตตินี้ ไม่กล่าวว่าเข้า
12,0027,004,กับบทใด เพราะเป็นประธาน. แต่ในเวลาสัมพันธ์นิยมว่า 'ใน' กิริยา
12,0027,005,คุมพากย์ เช่น <B>ปุตฺโต</B> สยกัตตา ใน <B>ชายติ. กลฺยาณกมฺมํ</B> วุตตกัมมใน
12,0027,006,<B>กาตพฺพํง สงฺโฆ</B> วุตตกัมม ใน <B>าเปตพฺโพ</B>. ส่วนในนามพากยางค์
12,0027,007,และคุณพากยางค์ เรียกว่า ลิงคัตถะ ลอย ๆ.
12,0027,008,ตัวอย่างในพากย์เหตุกรรมวาจา ในแบบว่า <B>สงฺโฆ าเป-
12,0027,009,ตพฺโพ</B> ผู้ที่เพ่งพิจารณาคงสงสัยว่า <B>าเปตพฺโพ</B> เป็นสกัมมธาตุ
12,0027,010,เมื่อเป็นเช่นนี้ ควรจะยกตัวกรรมคือสิ่งที่พึงให้รู้ขึ้นเป็นประธาน ตาม
12,0027,011,ที่กล่าวแล้วข้างต้น แต่ไฉนจึงยกการีตขึ้นกล่าวเป็นประธาน ดุจพากย์
12,0027,012,ที่ใช้ อกัมธาตุ. ข้อนี้ไม่มีคำแก้อย่างอื่น นอกจากว่าข้างต้นกล่าว
12,0027,013,ตามนิยมของพากย์เหตุกรรมวาจก [ ดูในอาขยาต ]. แต่พึงทราบว่า
12,0027,014,ไวยากรณ์อันบริบูรณ์นั้นเกิดทีหลังภาษา เพราะฉะนั้น ภาษาจึงมีใช้
12,0027,015,แผกจากกฎไวยากรณ์อยู่บ้าง ซึ่งมักเป็นโวหารเก่า เช่น อุ. นี้. การ
12,0027,016,ใช้เช่นนี้ แม้ในธัมมปทัฏฐกถา ก็มีบ้าง แต่น้อย เช่น:-
12,0027,017,<B>อหํ อิมาย นิพฺพุตปทํ สาวิโต.</B> [ สญฺชย. ๑/๘๐ ] เราอน
12,0027,018,นางกิสาโคตมีนี้ ให้ได้ฟังซึ่งบทว่า ดับทุกข์แล้ว.
12,0027,019,<B>อสฺสุตปุพฺพํ สทฺทํ ตยา สุณาปิตมฺหา.</B> [ สามาวตี. ๒/๔๔ ]
12,0027,020,เราเป็นผู้อันท่านให้ได้ฟังเสียงที่ไม่เคยฟังแล้ว.
12,0027,021,<B>น ตฺวํ มยา เวรวจนํ วทาปิโต.</B> [ โชติกตฺเถระ. ๘/๑๘๓ ]