|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
11,0039,001,พยัญชนะที่จะซ้อน ต ได้ คือ ต้องเป็นพยัญชนะในวรรคเดียวกับ ต
|
|
11,0039,002,"เช่น <B>หนตุ, ชนฺตุ </B>เป็นต้น. หนฺตุ เป็น หนฺ ธาตุ ลง ตุ ปัจจัยแล้ว"
|
|
11,0039,003,คงไว้ แปลง น หลังธาตุเป็นตัวสะกด คือ เป็น นฺ วิ. ว่า <B>หนตี-ติ
|
|
11,0039,004,หนฺตา</B> (ชนใด) ย่อมฆ่า เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้ฆ่า. <B>ชนฺตุ</B>
|
|
11,0039,005,เป็น ชนฺ ธาตุ ลง ตุ แล้วคงไว้ แปลง น หลังธาตุเป็นตัวสะกด คือ
|
|
11,0039,006,เป็น นฺ วิ. ว่า <B>ชายตี-ติ ชนฺตุ.</B> <SUP>๑</SUP> (สัตว์ใด) ย่อมเกิด เหตุนั้น
|
|
11,0039,007,(สัตว์นั้น) ชื่อว่า ผู้เกิด. ๒ นี้ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0039,008,๔. <B>ลง อิ อาคมหลังธาตุได้ </B>เช่น สริตุ เป็น สรฺ ธาตุ ใน
|
|
11,0039,009,"ความไป, ระลึก ลง ตุ ปัจจัย และลง อิ อาคมหลังธาตุ วิ. ว่า"
|
|
11,0039,010,<B>สรตี- สริตา.</B> (ชนใด) ย่อมแล่นไป เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า
|
|
11,0039,011,ผู้แล่นไป. เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0039,012,"๕. <B>ธาตุตัวเดียวที่เป็นสระยาวคงไว้</B> เช่น <B>ทาตุ, าตุ </B>เป็น"
|
|
11,0039,013,ต้น <B>ทาตุ </B>เป็น ทา ธาตุ ลง ตุ ปัจจัย วิ. ว่า <B>เทตี-ติ ทาตา</B> (ชนใด)
|
|
11,0039,014,ย่อมให้ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้ให้. <B>าตุ</B> เป็น า ธาตุ
|
|
11,0039,015,ลง ตุ ปัจจัย วิ. ว่า <B>ชานาตี-ติ าตา. </B>(ชนใด) ย่อมรู้ เหตุนั้น
|
|
11,0039,016,(ชนนั้น) ชื่อวา ผู้รู้. ๒ นี้ เป็น กัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
|
|
11,0039,017,ปัจจัยนี้ ท่านให้ใช้เป็นตัสสีลสาธนะก็ได้ เช่น โสตุ ถ้าจะตั้ง
|
|
11,0039,018,ให้เป็นตัสสีลสาธนะ ก็ต้องตั้ง วิ. ว่า <B>สุณาติ สีเลนา-ติ โสตา.</B>
|
|
11,0039,019,
|
|
11,0039,020,๑. ศัพท์นี้ไม่แจกตามแบบ สตฺถุ (๖๖) แต่แจกตามแบบ ครุ (๕๐) ป. เอก. จึง
|
|
11,0039,021,คงเป็น ชนฺตุ.
|
|
|