|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0023,001,นครสฺส สมีปํ=อุปนครํ ที่ใกล้เคียงแห่งเมือง ชื่อใกล้เมือง. สมีปํ
|
|
09,0023,002,เป็นนาม มีเนื้อความเหมือนกับ อุป ซึ่งเป็นอุปสัค จึงนำมาใช้แทน
|
|
09,0023,003,ในรูปวิเคราะห์. ทรถสฺส อภาโว=นิทฺทรถํ ความไม่มีแห่งความกระวน
|
|
09,0023,004,กระวาย ชื่อความไม่มีความกระวนกระวาย. อภาโว เป็นนามมีเนื้อ
|
|
09,0023,005,ความเหมือน นิ อุปสัค จึงนำมาใช้แทนกันในรูปวิเคราะห์.
|
|
09,0023,006,ข. อย่างที่ใช้ในรูปวิเคราะห์ เช่น วาตํ อนุวตฺตตีติ อนุวาตํ
|
|
09,0023,007,(ยํ วตฺถุ สิ่งใด) ย่อมไปตามซึ่งลม เหตุนั้น (ตํ วตฺถุ สิ่งนั้น)
|
|
09,0023,008,ชื่อว่าตามลม วตฺตติ มีอนุเป็นบทหน้า ใช้แทนอนุในรูปวิเคราะห์
|
|
09,0023,009,สำเร็จแล้ว คงไว้แต่ตัวอุปสัค. อตฺตานํ อธิวตฺตตีติ อชฺฌตฺตํ (สิ่งใด)
|
|
09,0023,010,ย่อมเป็นไปทับซึ่งตน เหตุนั้น (สิ่งนั้น) ชื่อว่าทับตน. (เอา อธิ
|
|
09,0023,011,เป็นอชฺฌ แล้วสนธิกับ อตฺต เป็นอชฺฌตฺต ตามกฎของสมาสนี้
|
|
09,0023,012,เป็น นปุํสกลิงค์ จึงเป็น อชฺฌตฺตํ).
|
|
09,0023,013,นิปาตปุพฺพก มีวิธีเคราะห์ ๓ อย่างคือ :-
|
|
09,0023,014,ก. อย่างที่มีนามอื่นบทเดียว ใช้แทนนิบาต เช่น วุฑุฒานํ
|
|
09,0023,015,"ปฏิปาฏิ=ยถาวุฑฺฒํ ลำดับแห่งคนเจริญแล้ว ท. ชื่อว่าตามคนเจริญ,"
|
|
09,0023,016,คำว่า ปฏิปาฏิ เป็นนามนาม แปลว่าลำดับ มีเนื้อความคล้ายกับ
|
|
09,0023,017,ยถา ที่เป็นนิบาต ในที่นี้แปลว่าตาม คือคำว่า ลำดับ ก็หมายความ
|
|
09,0023,018,ว่าตามนั่นเอง ฉะนั้นจึงใช้แทนกันได้ แม้ศัพท์อื่น ๆ ทีเข้าสมาสกับ
|
|
09,0023,019,ยถา ก็ตั้งวิเคราะห์อย่างนี้เหมือนกัน เช่น:-
|
|
09,0023,020,สตฺติยา ปฏิปาฏิ=ยถาสตฺติ ตามความสามารถ.
|
|
09,0023,021,พลสฺส ปฏิปาฏิ=ยถาพลํ ตามกำลัง.
|
|
|