buddhist-theology / 01 /010008.csv
uisp's picture
initial upload
6bd72a3
raw
history blame
3.42 kB
Book,Page,LineNumber,Text
01,0008,001,""" ไอ ไอ๋ อา "" ดังนี้ ต่อพยัญชนะเข้าอาศัย จึงจะออกเสียงปรากฏ"
01,0008,002,"ชัดว่า "" ไปไหนมา "" ดังนี้."
01,0008,003,"พยัญชนะ ๓๓ ตัวนี้ จัดเป็น ๒ พวก วรรค ๑, อวรรค ๑,"
01,0008,004,วรรคจัดเป็น ๕
01,0008,005,ก ข ค ฆ ง ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ก วรรค
01,0008,006,จ ฉ ช ฌ  ๕ ตัวนี้ เรียกว่า จ วรรค
01,0008,007,ฏ € ฆ ฒ น ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ฏ วรรค
01,0008,008,ต ถ ท ธ น ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ต วรรค
01,0008,009,ป ผ พ ภ ม ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ป วรรค
01,0008,010,พยัญชนะ ๒๕ ตัวนี้เป็นพวก ๆ กันตามฐานกรณ์ที่เกิด ซึ่งจะว่าต่อไป
01,0008,011,"ข้างหน้า จึงชื่อวรรค, พยัญชนะ ๘ ตัวนี้ คือ ย ร ล ว ส ห ฬ ํ"
01,0008,012,เรียกว่า อวรรค เพราะไม่เป็นพวกเป็นหมู่กัน ตามฐานกรณ์ที่เกิด.
01,0008,013,"[ ๕ ] พยัญชนะ คือ ํ เรียกว่านิคคหิต ตามสาสนโวหาร,"
01,0008,014,"เรียกว่า อนุสาร ตามคัมภีร์ศัพทศาสตร์, มีเนื้อความเป็นอันเดียว"
01,0008,015,"กัน, นิคคหิต แปลว่า กดสระ หรือ กรณ์ คือ อวัยวะที่ทำเสียง เวลา"
01,0008,016,เมื่อจะว่าไม่ต้องอ้าปากเกินกว่าปรกติ เหมือนว่าทีฆสระ.
01,0008,017,อนุสาร แปลว่า ไปตามสระ คือพยัญชนะตัวนี้ ต้องไปตาม
01,0008,018,"หลังสระคือ อ อิ อุ เสมอ เหมือนคำว่า อหํ เสตุํ อกาสึ เป็นต้น,"
01,0008,019,ถ้าไม่มีสระ ก็ไม่มีที่อาศัย ท่านเปรียบไว้ว่า นิคคหิตอาศัยสระนั้น
01,0008,020,เหมือนนกจับต้นไม้ ถ้าต้นไม้เป็นต้น ซึ่งเป็นที่จับไม่มีแล้ว นกก็จับ
01,0008,021,ไม่ได้ฉะนั้น สำเนียงสระที่นิคคหิตเข้าอาศัย จะแสดงไว้ข้างหน้า [ ๑๐ ]